ไปที่เนื้อหา


รูปภาพ
- - - - -

คำว่า อสงไขย ในพจนานุกรมไทย


  • คุณไม่สามารถตั้งกระทู้ใหม่ได้
  • กรุณาลงชื่อเข้าใช้เพื่อตอบกระทู้
มี 10 โพสต์ตอบกลับกระทู้นี้

#1 หัดฝัน

หัดฝัน
  • Members
  • 4531 โพสต์
  • Gender:Male
  • Interests:ธรรมะ

โพสต์เมื่อ 26 May 2008 - 11:40 AM

พอดีไปซื้อโปรแกรม พจนานุกรมไทย โดยเปลื้อง ณ นคร Version ล่าสุดมา จึงทดลองใช้โปรแกรมให้หาความหมายของคำว่า อสงไขย ก็เลยได้ข้อมูลมาตามข้างล่างนี้น่ะครับ

อสงไขย
(มค. อสงฺเขยฺย ; สก. อสํขฺย) ว. นับไม่ถ้วน, นับไม่ได้, มากมาย. น. ชื่อสังขยาจำนวนใหญ่ที่สุดในแบบสังขยา คือ โกฏิยกกำลัง ๒๐.

ทีนี้พอเปิดขึ้นมา ความหมายของอสงไขย คือ ชื่อสังขยาจำนวนใหญ่ที่สุด อ้าวมีคำว่า "สังขยา" ขึ้นมาอีก จึงใช้โปรแกรมเปิดหาความหมายของ สังขยา ต่อไป ก็เลยพบว่า สังขยา ในที่นี้ไม่ได้หมายความถึง ขนม นะครับ แต่หมายถึงดังข้างล่างนี้

สังขยา
[สัง-ขะ-หฺยา] (มค. สงฺขฺยา; สก. สํขฺยา) น. การนับ, วิธีนับจำนวนภาษาบาลีมี ๒ แบบ คือนับไปตามลำดับเรียกว่า ปรกติสังขยา และนับจำนวนครบ เรียกว่า ปูรณสังขยา. ตัวอย่างปรกติสังขยา เอก ๑, ทวิ ๒, ติ ๓, จตุ ๔, ปัญจะ ๕, ฉ ๖, สัตตะ ๗, อัฏฐะ ๘, นวะ ๙, ทสะ ๑๐, เอกาทสะ ๑๑, เอกูนวีสติ ๑๙ ตัวอย่างปูรณสังขยา ปฐมะ ที่ ๑, ทุติยะ ที่ ๒, ตติยะ ที่ ๓, จตุตถะ ที่ ๔, ปัญจมะ ที่ ๕, ฉัฏฐมะ ที่ ๖, สัตตมะ ที่ ๗, อัฏฐมะ ที่ ๘, นวมะ ที่ ๙, ทสมะ ที่ ๑๐, เอกาทสมะ ที่ ๑๑, เอกูนวีสติมะ ที่ ๑๙ ฯลฯ

จากคำแปลของสังขยา สังขยา หมายถึง การนับ ซึ่งมีตั้งแต่ นับหนึ่ง ในบาลีใ้ช้่คำว่า "เอก" เช่น ทางสายเอก สายเดียว ที่จะไปสู่นิพพาน คือ มรรคมีองค์แปด
ส่วนนับสอง ในบาลีใช้คำว่า ทวิ เช่น สัตว์ทวิบาท หรือ สัตว์สองเท้า
ส่วนนับสาม ในบาลีใช้คำว่า ติ หรือ ไตร ก็ได้ เช่น ไตรลักษณ์ ได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ส่วนนับสี่ ในบาลีใช้คำว่า จตุ เช่น สัตว์จตุบาท หรือ สัตว์สี่เท้า
ส่วนนับห้า ในบาลีใช้คำว่า ปัญจะ เช่น พวกปัญวัคคีย์ มี พราหมณ์โกณฑัญญะ เป็นต้น
ส่วนนับหก ในบาลีใช้คำว่า ฉ เช่น ฉพรรณรังสี หรือ รัศมี 6 สี
ส่วนนับเจ็ด แปด เก้า ก็ดูเอาแล้วกันนะครับ

ดังนั้่น ความหมายของอสงไขย ในภาษาปัจจุบัน คือ อสงไขย หมายถึง ชื่อ การนับ ที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งมีค่าเท่ากับ โกฏิ ยกกำลัง 20 หรือถ้าคำนวนในแบบวิทยาศาสตร์จะได้ สิบ ยกกำลัง 140 ครับ

10,000,000^20 = 10^140
ได้ดี เพราะมีกัลยาณมิตร

#2 หัดฝัน

หัดฝัน
  • Members
  • 4531 โพสต์
  • Gender:Male
  • Interests:ธรรมะ

โพสต์เมื่อ 26 May 2008 - 12:14 PM

พอดีนึกขึ้นได้ เลยจะขอเสริมอีกนิดหน่อย เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กันนะครับ
นับเจ็ด ในบาลีใช้คำว่า สัตตะ ก็เช่น สัตตสัตดกมหาทาน หรือ ทานที่บริจาคของ 7 อย่าง อย่างละ 700 ของพระเวสสันดรนั่นเองครับ
ส่วนนับแปด ในบาลีใช้คำว่า อัฏฐะ ก็เช่น อัฏฐสิกขา หรือ ศีลแปด นั่นเองครับ
ได้ดี เพราะมีกัลยาณมิตร

#3 tnawut

tnawut
  • Moderators
  • 2398 โพสต์
  • Gender:Male
  • Location:Laksi
  • Interests:Internet, Computer, Electronic, Security, Merit, Meditation, อินเตอร์เน็ต, คอมพิวเตอร์, ทำบุญ, ปล่อยปลา, บูชาเจดีย์, ฝันในฝัน, DOU, หมู่บ้านปฏิบัติธรรม, บวช, บรรพชา, Web, CU, Chula

โพสต์เมื่อ 26 May 2008 - 01:14 PM

นึกได้คำหนึ่ง

สหัสรังษี รัศมี 1,000

#4 Jeabka

Jeabka
  • Members
  • 248 โพสต์

โพสต์เมื่อ 26 May 2008 - 01:16 PM

"สังขยา" พอเห็นหรือนึกถึงคำเนี่ยะส่วนใหญ่ก็นึกถึงขนมซะส่วนมาก แต่ตอนนี้ต้องเพิ่มไว้ในสมองว่าเป็นวิธีนับในภาษาบาลี
ได้ความรู้เพิ่มอีกอย่าง อนุโมทนาบุญด้วยค่ะ สาธุ ^/\^

#5 เคยเข้าวัด

เคยเข้าวัด
  • Members
  • 1296 โพสต์
  • Interests:สร้างบุญบารมีอย่างยวดยิ่ง ตราบเท่าชีวีหมดอายุขัย

โพสต์เมื่อ 26 May 2008 - 01:19 PM

พี่หัดฝัน ช่วยแปลบทสวดเจ็ดตำนาน บทสัมพุทเธ ส่วนนี้ให้หน่อยจิครับ

1. สัมพุทเธอัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิราสา อะหัง

2. สัมพุทเธปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก
ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง

3. สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง

3ท่อนนี้ถ้าผมจำไม่ผิดจะเป็นบทนมัสการพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกพระองค์ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเราได้กล่าวถึง ที่ขีดเส้นใต้ไว้คือจำนวนน่ะครับ ผมจำไม่ได้ละว่าเท่าไหร่บ้าง แหะๆ ^ ^"
1) พระปัญญาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 20 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 4 อสงไขย กับ แสนมหากัป) เช่น พระสัมมาพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน คือ พระสมณโคมสัมมาสัมพุทธเจ้า (อย่างน้อยที่สุด)
2) พระศรัทธาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 40 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 8 อสงไขย กับ แสนมหากัป) (อย่างน้อย)
3) พระวิริยาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 80 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 16 อสงไขย กับ แสนมหากัป) เช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ต่อไป คือ พระศรีอาริยเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้า (เป้าหมาย

#6 หัดฝัน

หัดฝัน
  • Members
  • 4531 โพสต์
  • Gender:Male
  • Interests:ธรรมะ

โพสต์เมื่อ 26 May 2008 - 04:40 PM

ต้องขอลองเปิดในพจนานุกรมก่อนนะครับ คุณเคยเข้าวัด ได้เรื่องอย่างไรแล้วจะบอก
ได้ดี เพราะมีกัลยาณมิตร

#7 หยุดนิ่ง

หยุดนิ่ง
  • Members
  • 60 โพสต์

โพสต์เมื่อ 26 May 2008 - 08:19 PM

ได้ความรู้มากมายครับ
อนุโมทนาบุญค้าบ สาธุ

#8 กาย072

กาย072
  • Members
  • 31 โพสต์

โพสต์เมื่อ 26 May 2008 - 08:55 PM

สาธุครับ

#9 ศรีวยาฆร

ศรีวยาฆร
  • Members
  • 184 โพสต์

โพสต์เมื่อ 27 May 2008 - 06:53 PM

1. สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะสะหัสสาน
ิ นะมามิ สิราสา อะหัง

ข้าพเจ้าขอนอบน้อมนมัสการพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ห้าแสนหนึ่งหมื่นสองพันยี่สิบแปด(512,028)พระองค์ ด้วยเศียรเกล้า

2. สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก
ทะสะสะตะสะหัสสาน
ิ นะมามิ สิระสา อะหัง

ข้าพเจ้าขอนอบน้อมนมัสการพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
หนึ่งล้านสองหมื่นสี่พันห้าสิบห้า(1,024,055)พระองค์ ด้วยเศียรเกล้า

3. สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ
นะมามิ สิระสา อะหัง

ข้าพเจ้าขอนอบน้อมนมัสการพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
สองล้านสี่หมื่นแปดพันร้อยเก้า(2,048,109)พระองค์ ด้วยเศียรเกล้า

อ้างอิงจาก-ชุมนุมสวดมนต์ฉบับหลวงแปล
โดย พระราชเวที, วัดประยูรวงศาวาส ธนบุรี เรียบเรียง.

#10 เคยเข้าวัด

เคยเข้าวัด
  • Members
  • 1296 โพสต์
  • Interests:สร้างบุญบารมีอย่างยวดยิ่ง ตราบเท่าชีวีหมดอายุขัย

โพสต์เมื่อ 28 May 2008 - 11:19 AM

ขอบพระคุณและกราบอนุโมทนาบุญกับคุณshivayaghrด้วยนะครับ ผมสวดอยู่บ่อยๆแต่ไม่รู้ความหมายว่าเท่าไหร่กันแน่น่ะครับ ^ ^
1) พระปัญญาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 20 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 4 อสงไขย กับ แสนมหากัป) เช่น พระสัมมาพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน คือ พระสมณโคมสัมมาสัมพุทธเจ้า (อย่างน้อยที่สุด)
2) พระศรัทธาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 40 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 8 อสงไขย กับ แสนมหากัป) (อย่างน้อย)
3) พระวิริยาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 80 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 16 อสงไขย กับ แสนมหากัป) เช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ต่อไป คือ พระศรีอาริยเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้า (เป้าหมาย

#11 nut33

nut33
  • Members
  • 142 โพสต์
  • Gender:Male
  • Location:Bangkok
  • Interests:http://www.dhammakaya.tv
    http://www.dhammakaya.biz

    android Application ธรรมกาย
    https://play.google.com/store/apps/details?id=com.conduit.app_96f25c33fb1b4867b3b98cc85a26a854.app

โพสต์เมื่อ 19 May 2009 - 03:08 AM

พระคาถาบูชาพระพุทธเจ้า ๕๑๒,๐๒๘ พระองค์*
จากคัมภีร์ มูลภาษา ที่อาจารย์พระมหาแสวง โชติปาโล
วัดศรีประวัติ บางกรวย นนทบุรี ได้นำมาจากประเทศพม่า
(อภินันทนาการ จาก พระราชญาณวิสิฐ วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี ๗๐๑๓๐)
...

นะโม สัมมาสัมพุทธานัง ปะระมัตถะทัสสีนัง สีลาทิคุณะปาระมิปปัตตานัง (๓ จบ)
พุทธัม สะระณัม คัจฉามิ
ธัมมัม สะระณัม คัจฉามิ
สังฆัม สะระณัม คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัม สะระณัม คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัม สะระณัม คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัม สะระณัม คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัม สะระณัม คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัม สะระณัม คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัม สะระณัม คัจฉามิ
อธิฏฐานสีลคาถา
(อธิษฐานศีล ๕ สำหรับญาติโยม สำหรับพระไม่ต้องอธิษฐานนี้)
อิมานิ ปัญจะสิกขาปะทานิ อะธิฏฐามิ
ทุติยัมปิ อิมานิ ปัญจะสิกขาปะทานิ อะธิฏฐามิ
ตะติยัมปิ อิมานิ ปัญจะสิกขาปะทานิ อะธิฏฐามิ
ปาณาติปาตาเวระมะณีสิกขาปะทัง อะธิฏฐามิ
อะทินนาทานาเวระมะณีสิกขาปะทัง อะธิฏฐามิ
กาเมสุมิจฉาจาราเวระมะณีสิกขาปะทัง อะธิฏฐามิ
มุสาวาทาเวระมะณีสิกขาปะทัง อะธิฏฐามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานาเวระมะณีสิกขาปะทัง อะธิฏฐามิ

* พระคาถาอันศักดิ์สิทธิ์ บูชาพระพุทธเจ้า ๕๑๒,๐๒๘ พระองค์ ท่านผู้รู้แนะนำให้ใช้ภาวนาเพื่อปกป้องอุปสรรค อันตราย จากภัยต่างๆ มีภัยจากอาวุธและ/หรือลูกระเบิดเป็นต้นได้ จงตั้งใจสวดภาวนาสาธยายด้วยจิตสงบ

อะระหันเต อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
อัปปะกา วาฬุกา คังคา อะนันตา นิพพุตา ชินา
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หิตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
สัมมาสัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
อัปปะกา วาฬุกา คังคา อะนันตา นิพพุตา ชินา
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หิตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
วิชชาจะระณะสัมปันเน อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
อัปปะกา วาฬุกา คังคา อะนันตา นิพพุตา ชินา
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หิตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
สุคะเต อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
อัปปะกา วาฬุกา คังคา อะนันตา นิพพุตา ชินา
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หิตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
โลกะวิทุเก อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
อัปปะกา วาฬุกา คังคา อะนันตา นิพพุตา ชินา
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หิตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
อนุตตะเร ปุริสะทัมมะสาระถิเก อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
อัปปะกา วาฬุกา คังคา อะนันตา นิพพุตา ชินา
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หิตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
สัตถาเทวะมะนุสเส อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
อัปปะกา วาฬุกา คังคา อะนันตา นิพพุตา ชินา
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หิตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
พุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
อัปปะกา วาฬุกา คังคา อะนันตา นิพพุตา ชินา
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หิตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
ภะคะวันเต อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
อัปปะกา วาฬุกา คังคา อะนันตา นิพพุตา ชินา
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หิตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
อะระหันตาทิ นะวะหิ คุเณหิ สัมปันเน อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
อัปปะกา วาฬุกา คังคา อะนันตา นิพพุตา ชินา
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หิตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ

นะโม เต พุทธะวีรัตถุ วิปปะมุตโตสิ สัพพะธิ
สัมพาธะปะฏิปันโนสมิ ตัสสะ เม สะระณัง ภะวะ

ตะถาคะตัง อะระหันตัง จันทิมา สะระณัง คะโต
ราหุ จันทัง ปะมุญจัสสุ พุทธา โลกานุกัมปะกา
ตะถาคะตัง อะระหันตัง สุริโย สะระณัง คะโต
ราหุ สุริยัง ปะมุญจัสสุ พุทธา โลกานุกัมปะกา
นาญญัตระ โพชฌังคาตะปะสา นาญัตรินทริยสังวะรา
นาญญัตระ สัพพะนิสสัคคา โสตถิง ปัสสามิ ปาณินัง

อตีตัง พุทธะ ระตะนัง พุทธะวังสัง อะนาคะตัง
มะมะ สีเส ฐะเปตวา ยาวะชีวัง นะมัตถุ เม

พุทโธ เม รักขะตุ นิจจัง พุทโธ เม รักขะตุ สะทา
พุทโธ เม รักขะตุ ทิเน อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
ธัมโม เม รักขะตุ นิจจัง ธัมโม เม รักขะตุ สะทา
ธัมโม เม รักขะตุ ทิเน อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
สังโฆ เม รักขะตุ นิจจัง สังโฆ เม รักขะตุ สะทา
สังโฆ เม รักขะตุ ทิเน อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว

มาราฬะวะกะ นาฬาคิริง อังคุลิง จิญจะ สัจจะกัง
นันโท ปะนันทะ พรหมัญจะ เชตุ โหตุ ตะโต ปะรัง
คัจฉันเต วา สะยะเน วา สัพพัสมิง อิริยาปะเถ
มิจฉาเทวา ปักกะมันตุ สัมมาเทวา อุเปนตุ เม

พุทโธ เม สีเส ติฏฐะตุ พุทโธ เม หะทะเย ติฏฐะตุ
พุทโธ เม อังเส ติฏฐะตุ อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
ธัมโม เม สีเส ติฏฐะตุ ธัมโม เม หะทะเย ติฏฐะตุ
ธัมโม เม อังเส ติฏฐะตุ อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
สังโฆ เม สีเส ติฏฐะตุ สังโฆ เม หะทะเย ติฏฐะตุ
สังโฆ เม อังเส ติฏฐะตุ อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว

วิปัสสี พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
สิขี พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
เวสสะภู พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
กะกุสันโธ พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
โกนาคะมะโน พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
กัสสะโป พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
โคตะโม พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว
สัตติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต สัมมาสัมพุทธา
อะนันตะปุญญา อะนันตะคุณา อะนันตะญาณา อะนันตะเตชา
อะนันตะอิทธิมันตา อะนันตะชุติมันตา อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว

นะโม เตสัง สัตตันนัง พุทธานัง ภะคะวันตานัง อะระหันตานัง
สัมมาสัมพุทธานัง อายุ ทีฆัง สุขัง ภะเว

อะนันตะปุญญา สัตติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ ปุญญะจักเกหิ มัง รักขันตุ
อะนันตะคุณา สัตติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ คุณะจักเกหิ มัง รักขันตุ
อะนันตะญาณา สัตติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ ญาณะจักเกหิ มัง รักขันตุ
อะนันตะเตชา สัตติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ เตชะจักเกหิ มัง รักขันตุ
อะนันตะอิทธิมันตา สัตติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ อิทธิมันตะจักเกหิ มัง รักขันตุ
อะนันตะชุติมันตา สัตติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ ชุติมันตะจักเกหิ มัง รักขันตุ

ทิวา ตะปะติ อาทิจโจ รัตติมาภาติ จันทิมา
สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติ ฌายี ตะปะติ พราหมะโณ
อะถะ สัพพะมะโหรัตติง พุทโธ ตะปะติ เตชะสา
ตาทิสัง เตชะสัมปันนัง พุทธัง วันทามิ อาทะรัง
ทิวา ตะปะติ อาทิจโจ รัตติมาภาติ จันทิมา
สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติ ฌายี ตะปะติ พราหมะโณ
อะถะ สัพพะมะโหรัตติง ธัมโม ตะปะติ เตชะสา
ตาทิสัง เตชะสัมปันนัง ธัมมัง วันทามิ อาทะรัง
ทิวา ตะปะติ อาทิจโจ รัตติมาภาติ จันทิมา
สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติ ฌายี ตะปะติ พราหมะโณ
อะถะ สัพพะมะโหรัตติง สังโฆ ตะปะติ เตชะสา
ตาทิสัง เตชะสัมปันนัง สังฆัง วันทามิ อาทะรัง
แผ่เมตตาให้ตนเอง
อะหัง สุขิโต โหมิ, อะหัง อะเวโร โหมิ, อะหัง นิททุกโข โหมิ,
อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ, อะหัง อะนีโฆ โหมิ, อะหัง สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ
แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์
สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ, สัพเพ สัตตา อัพยาปัชฌา โหนตุ,
สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ, สัพเพ สัตตา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ,

อิทัง เม ปุญญัง ปุพพะการีนัญจะ เวรีนัญจะ อารักขะเทวานัญจะ ญาตะกานัญจะ
ทุกขัปปัตตานัญจะ นิพพานัสสะ จะ ปัจจะโย โหตุ อะนาคะเต กาเล.
ขออนุโทนาบุญกับทุกท่าน สาธุ

ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
http://www.dhammakaya.tv