หมวด
การปรับร่างกาย
การหลับตา
การปรับใจ
การวางใจ
การนึกนิมิต
การใช้คำภาวนา
ความใจเย็น
การดู
การเห็น
ความหยุดนิ่ง
ฟุ้ง
เครียด-ตึง
ง่วง-หลับ
อยาก-ลุ้น
มืด
ติดลมหายใจ
นิมิตนอกตัว
นิมิตเลื่อนลอย
ขี้เกียจ-ท้อแท้
กลัว-กังวล
สงสัย
ความไม่ต่อเนื่อง
คำถามปกิณกะ

ทำอย่างไรจึงจะรู้สึกผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ

    

หมวด การปรับใจ



   กายและใจสัมพันธ์กัน  ถ้าหากกายผ่อนคลาย  ใจเราจะผ่อนคลายไปด้วย แต่สำหรับบางท่าน แม้ร่างกายไม่สบาย  แต่ถ้าสามารถผ่อนคลายใจให้เบาสบายได้  ร่างกายก็จะสามารถผ่อนคลายไปด้วย  สิ่งที่สำคัญควรฝึกสมาธิทุกวัน  อย่างน้อยหลังตื่นนอน  ก่อนเข้านอน  และตลอดทั้งวัน  ให้รักษาอารมณ์สบาย  
      
      อย่าเก็บอารมณ์ที่อึดอัดไว้  ให้เรียนรู้วิธีปล่อยวาง  เมื่อเราเรียนรู้การปล่อยวางได้  เหมือนวางของหนักๆ ลง  ใจจะหลุดจากความอึดอัดคับแคบ  กายและใจจะโล่งว่าง  ให้ประคองอารมณ์นั้นให้ต่อเนื่อง ให้ได้นานที่สุด  ในไม่ช้าเราก็จะเข้าถึงจุดเบาสบายที่เราพึงพอใจ
      



คำถามในหมวดเดียวกัน
     -  เราสามารถจัดระดับหรือขั้นตอนของความสบายได้อย่างไรบ้าง ?
     -  ความสบายเกิดขึ้นได้อย่างไร ?
     -  สบายกับฟุ้งซ่านต่างกันอย่างไร ?
     -  ทำอย่างไรจึงจะรู้สึกผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ ?
     -  ทำอย่างไรจึงจะเป็นผู้ที่มีอารมณ์ดีและอารมณ์สบายได้ตลอดเวลา ?
     -  เวลาไม่ได้นั่งสมาธิ เวลาคุยหรือขับรถหรือทำอย่างอื่น เราจะมีความรู้สึกสุขลึก ๆ สุขมาก ไม่ทราบ ว่ามันมาจากไหน รู้แต่ว่ามันอยู่ในท้อง แต่เวลานั่งสมาธิกลับไม่ค่อยได้ความรู้สึกเช่นนี้ เพราะอะไร ?
     -  การนำใจมาหยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกายอย่างสบาย ทำได้อย่างไรบ้าง ?
     -  หากเราเคยนั่งธรรมะดีมาก่อนและตอนนี้ก็ยังนั่งมาเรื่อย ๆ แต่นั่งไม่ดีเท่าเมื่อก่อน ธรรมะของเรา ถอยหลังไหม และควรปรับใจอย่างไร ?

กลับหน้าสมาธิ
Bookmark and Share  
บันทึกผลการปฏิบัติธรรม