ไปที่เนื้อหา


รูปภาพ
- - - - -

พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในทรรศนะของนักปราชญ์


  • คุณไม่สามารถตั้งกระทู้ใหม่ได้
  • กรุณาลงชื่อเข้าใช้เพื่อตอบกระทู้
มี 2 โพสต์ตอบกลับกระทู้นี้

#1 Dd2683

Dd2683
  • Members
  • 2477 โพสต์
  • Gender:Male
  • Location:กรุงเทพ มหานคร
  • Interests:ความรู้ในพระพุทธศาสนา-วิชชาธรรมกาย<br />ผลแห่งการปฏิบัติธรรม

โพสต์เมื่อ 12 January 2006 - 11:43 PM

A Cosmic Religion

The religion of the future will be a cosmic religion.

It should transcend a personal God and avoid dogmas and theology.

Covering both the natural and the spiritual it should be based

on a religious sense arising from the experience of all things,

natural and spiritual, as a meaningful unity.

Buddhism answers this description...

If there is any religion that would cope with modern scientific needs, it would be Buddhism.

Albert Einstein,


the Great Scientist of this Age. ( Said that )

ศาสนาสากลจักรวาล

ศาสนาในอนาคต จะเป็นศาสนาสากลจักรวาล ซึ่งข้ามพ้นเรื่องพระเจ้าที่มีตัวตน และไม่มีเรื่องความเชื่อคำสั่งสอนแบบฝังหัว

และเทว วิทยา ศาสนานั้น ครอบคลุมเรื่องธรรมชาติและเรื่องจิตวิญญาณ ตั้งอยุ่บนฐานความรู้สึกทางศาสนา

ที่เกิดจากประสบการณ์แห่งสรรพสิ่ง ทั้งเรื่องธรรมชาติ และจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นเอภาพรวมอย่างมีความหมาย

พระพุทธศาสนาสมารถตอบสนอง สิ่งที่พรรณามานี้

ถ้าจะมี ศาสนาใด ๆ ที่เข้ากันได้กับความต้องการทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่

ศาสนานั้น ก็คือ พระพุทธศาสนา เท่านั้น ดังนี้.

อัลเบิร์ท ไอสไตน์

ยอดนักวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ ( เป็นผู้กล่าวคำนี้ )




Nothing to surpass Budhism

Buddhist or not Buddhist. I examined every one of the great religious systems of the world, and in none of them have I found any thing to surpass, in beauty and comprehen siveness,
the Noble Eightfold Path and the Four Noble Truths of the Buddha.

I am content to shape my life according to that Path.

Prof. Rhys Davids,

the founder President of the Pali Text Society.
( Said that )

ไม่มีศาสนาใดในโลกที่เหนือกว่าพระพุทธศาสนา

ไม่ว่าจะเป็นพระพุทธศาสนา หรือ มิใช่พระพุทธศาสนา ข้าพเจ้าได้ตราจสอบระบบศาสนาใหญ่ ๆ แห่งโลกทั้งหมด ในระบบศาสนา

โลกดังกล่าวทั้งหมดนั้น ข้าพเจ้าไม่พบคำสอนของศาสนาใดจะล้ำเลิศกว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ และ อริยสัจ ๔ ของพระพุทธเจ้าเลย

ไม่ว่า ในแง่ความงดงาม และความสมบูรณ์ครบถ้วน

ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงพึงพอใจที่จะประคับประคอง ชีวิตของตนเองไปตามทางนั้น ดังนี้.

ศาสตราจารย์ ริส เดวิตส


ผู้ก่อตั้ง นาบกสมาคมบาลีปกรณ์ ( เป็นผู้กล่าวคำนี้ )






Buddha is Like a Physician

The Buddha is like a physician. Just as a doctor must know the diagnosis of the different kinds of

illness their causes, the antidotes and must be able to apply them,

so also the Buddha has taught the Four Holy Truths which indicate the range of suffering its origin,

its cessation and the way which lead to its cessation.

Dr. Edward Conze


in " Buddhism " ( Said that )

พระพุทธเจ้าอุปมาด้วยนายแพทย์


พระพุทธเจ้า เป็นเสมือนนายแพทย์ เช่น คุณหมอที่ต้องทราบอาการของโรคต่าง ๆ

รวมทั้งสมุฎฐานของโรคด้วย ยาแก้และวิธีการเยียว ยาและสามารถประยุกต์ใช้ได้ด้วย ฉันใด

พระพุทธเจ้า ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ทรงแสดงอริยสัจ ๔ ซึ่งชี้ถึง

ขอบเขตแห่งความทุกข์

เหตุเกิดแห่งความทุกข์

ความดับทุกข์

และ มรรค หนทางนำไปสู่ความดับทุกข์ ดังนี้.

ดร. เอ็ดเวิร์ต คอนช์


ใน . พระพุทธศาสนา . ( เป็นผู้กล่าวคำเหล่านี้ )


Buddha is Near to Us

You see clearly a name simple, devout, lonely, battling for light, a vivde human personality, not a myth.

Beneath a mass of miraculous fable I feel that there also was a man.

He too, gave a message to mankind universal in its character.

Many of our best modern ideas are in closest harmony with it.

All the miseries and discontents of life are due, he taught, to selfishness.

Selfishness takes these three froms-one, the desire to satisfy the senses; second, the craving

for immortality; and the third, the desire for prosperity and worldliness.

Before a man can become serene he must cease to live for his senses or himself.

Then he merges into a great being. Buddha in a different langauge called men to self-forget-fulness

five hundred years before Christ.

In some ways He was near to us and our needs.

Buddha was more lucid upon our individual importance in service than Christ, a

nd less ambiguous upon the question of personal immortality.

H. G. Wells ( Said that )

พระพุทธเจ้าทรงอยู่ใกล้พวกเรา

ท่านจะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า คน ๆหนึ่ง มีความเป็นอยู่เรียบง่าย อุทิศตน โดดเดี่ยวบากบั่นเพื่อแสงแห่งปัญญา มีบุคลิกสง่างาม

แต่มิใช่ เทพลึกลับ ภายใต้ตำนานเหลือเชื่อที่มากมายนั้น

ข้าพเจ้ารู้สึกว่า มีมนุษย์อยู่ภายใตัร่างนั้นด้วย พระองค์ทรงประทานคำสอนลักษณะสากล แก่มนุษย์ชาติ

แนวความคิดสมัยใหม่ที่ดี ๆ มากมายเข้ากันได้กับคำสอนของพระองค์ อย่างกลมเกลียวที่สุด

พระพุทธองค์ทรงสอนว่า

บรรดาความทุกข์เข็ญ และความอึดอัดขัดข้องของชีวิตมนุษย์ทั้งหลาย มีเหตุมาจากความเห็นแก่ตัวซึ่งแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คือ

หนึ่ง ความอยากเสพสุขทางเนื้อหนัง

สอง ความอยากมีชีวิตที่นิรันต์

และ สาม ความอยากมีความร่ำรวย และความอยากทางโลกีย์

ก่อนที่มนุษย์ จะประสบความสงบเยือกเย็นได้นั้น เขาจะต้องหยุดความอยากมีชีวิตอยู่ เพื่อความสุขทางเนื้อหนัง

หรือ เพื่อประโยชน์สุขของตัวเอง

เมื่อพระพุทธองค์ กลายมาเป็นพระมหาสมณะแล้ว พระองค์ได้ทรงเรียกร้องให้มนุษย์ทั้งหลายเลิกการเห็นแห่ตัว

ด้วยภาษาต่าง ๆ ๕๐๐ ปี ก่อนพระเยซูคริสต์

ในบางแง่มุมพระพุทธองค์ก็ทรงอยู่ใกล้พวกเรา และความต้องการของพวกเรา

พระพุทธเจ้ามีงานช่วยเหลือประชาชนในฐานะปัจเจกบุคคลแจ่มชัดกว่าพระเยซูคริสต์

และมีความคลุมเคลือน้อยมากในเรื่อง อมฤตภาวะของบุคคล ดังนี้.

เอช. จีเวลลส์


( เป็นผู้กล่าวคำเหล่านี้ )


Taking Up Where Science Cannot

Buddhism is a combination of both speculative and scientific philosophy,

it advocates the scientific method and pursues that of a finality that may be called rationalitic...

It takes up where science cannot lead because of the limitations of the latter,s instruments.

It,s conquests are those of mind. There is not reason to supose that the world had beginning at al.

The idea that things must have a beginning is due to the poverty of our imagination..

Bertand Russell,

the Great English Philosopher ( Said that )

พระพุทธศาสนทำสิ่งที่วิทยาศาสตร์ทำไม่ได้


พระพุทธศาสนา เป็นการผสมผสานกันเข้าระหว่างปรัชญาแบบการคาดการณ์ และปรัชญาอย่างวิทยาศาสตร์

พระพุทธศาสนาสนับสนุนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และดำเนินตามวิธีนั้นไปสู่เป้าหมายสุดท้าย

ซึ่งอาจจะเรียกว่า วิธีการแบบเหตุผล พระพุทธศาสนาได้ลงมือในที่ ๆ วิทยาศาสตร์ไม่อาจทำได

เพราะว่าความจำกัดของสมรรถนะทางเครื่องมือแสวงหาความจริงของวิทยาศาสตร์

ชัยชนะ สำคัญของพระพุทธศาสนา คือ การชนะใจตนเอง

ไม่มีเหตุผลใดเลยที่จะตั้งข้อสมมุติฐานว่า โลกนี้มีการเริ่มต้น

แนวความคิดว่า ทุกสิ่งทุกอย่างจะ ต้องมีการเริ่มต้น เกิดขึ้นจากความด้อยทางจินตนาการของพวกเราเอง ดังนี้.

เบอร์ทรันต์ รัสเซลล์

ยอกนักปราชญ์อังกฤษยุคปัจจุบัน ( เป็นผู้กล่าวคำนี้ )

#2 *ผู้มาเยือน*

*ผู้มาเยือน*
  • Guests

โพสต์เมื่อ 13 January 2006 - 06:09 PM

อ่านแล้วโดนใจจริงๆครับ ดีมากเลยครับกับบทความเหล่านี้ เป็นการอธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาในอีกแง่หนึ่ง แล้วเข้าถึงได้ง่ายมากขึ้นสำหรับคนอีกบางกลุ่ม ที่มองพระพุทธศาสนาเป็นเริ่องงมงาย และถอยห่างเมื่อได้ยินชื่อ เพราะเขามัวแต่ติดเปลือกนอกที่ใครบางคนมาห่อไว้

#3 *ผู้มาเยือน*

*ผู้มาเยือน*
  • Guests

โพสต์เมื่อ 13 January 2006 - 10:27 PM

สาธุ ensure