บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า

บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า วิดีโอสวดมนต์ทำวัตรเช้า MP3 บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า ดาวน์โหลดได้ https://dmc.tv/a12

บทความธรรมะ Dhamma Articles > บทสวดมนต์
[ 27 พ.ย. 2555 ] - [ ผู้อ่าน : 18320 ]

บทสวดมนต์


 
บทสวดมนต์ทำวัตรเช้า
 

VCD บทสวดมนต์ | E-Book บทสวดมนต์

 

 

      ขณะที่ประธานกำลังจุดเทียน ธูป บูชาพระรัตนตรัย ให้ทุกคน สำรวมใจ นั่งคุกเข่าประนมมือขึ้นพร้อมกัน ครั้นประธานกล่าวคำ นมัสการนำ ทุกคนก็ว่าตามโดยพร้อมเพรียงกันอย่างชัดเจน ไม่ค่อยหรือดังเกินไป พร้อมทั้งกำหนดนึกถึงพระพุทธรูปตามวิธีที่กล่าวมาแล้ว ควบคู่กันไปด้วย

๑. คำบูชาพระโดยพิสดาร

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ
ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ, สาธุ โน ภันเต ภะคะวา
สุจิระปะรินิพพุโตปิ, ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
๑ ให้สวดหยุดเป็นตอนๆ ตามสัญลักษณ์ “ , ” หรือ “ . ”


๒. คำนมัสการ

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
(กราบครั้งที่หนึ่ง)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ.
(กราบครั้งที่สอง)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.
(กราบครั้งที่สาม)
 
๓. ปุพพะภาคะนะมะการะ

(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโตปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.)
 
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ ครั้ง)
 
๔. พุทธาภิถุติ

(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส.)

โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร
ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา, โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกัง, สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ,
โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง, สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง ปะกาเสสิ,
ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ ฯ
(กราบระลึกถึงพระพุทธคุณ)
 
๕. ธัมมาภิถุติ

(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส.)

โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหิ, ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ, ตะมะหัง ธัมมัง สิระสานะมามิ ฯ

(กราบระลึกถึงพระธรรมคุณ)
๑ อ่านว่า สะ - พรำ - มะ - กัง
๒ อ่านว่า สัด - ฉิ - กัด - ตะ - วา (เสียง อะ ครึ่งเสียง)
๓ อ่านว่า พรำ - มะ - จะ - ริ - ยัง


๖. สังฆาภิถุติ

(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส.)

โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย
อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ,
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ, ตะมะหัง สังฆัง สิระสา
นะมามิ ฯ (กราบระลึกถึงพระสังฆคุณ)

๑ อ่านว่า อา - หุ - ไน - โย ( เ-ย อ่านว่า ไ-ย ทุกแห่ง)

๗. ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา

ต่อไปนี้นั่งพับเพียบตามปกติ แล้วสวด

(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะสังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส.)

พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว,
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน,
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก,
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.
ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน,
โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก,
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน,
วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.
สังโฆ สุเขตตาภะยะติเขตตะสัญญิโต,
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก,
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส,
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.
อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง,
วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง,
ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา,
มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.
๑ อ่านว่า โล - ลับ - ปะ - ฮี - โน

๘. สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก
สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต, มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง
ชานามะ, ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง,
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา, อัปปิเยหิ
สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ
ตัมปิ ทุกขัง, สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา, เสยยะถีทัง,
รูปูปาทานักขันโธ, เวทะนูปาทานักขันโธ, สัญูปาทานักขันโธ,
สังขารูปาทานักขันโธ, วิญญาณูปาทานักขันโธ, เยสัง ปะริญญายะ,
ธะระมาโน โส ภะคะวา, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, เอวัง ภาคา
จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี, พะหุลา ปะวัตตะติ,
รูปัง อะนิจจัง, เวทะนา อะนิจจา, สัญญา อะนิจจา, สังขารา
อะนิจจา, วิญญาณัง อะนิจจัง, รูปัง อะนัตตา, เวทะนา อะนัตตา,
สัญญา อะนัตตา, สังขารา อะนัตตา, วิญญาณัง อะนัตตา, สัพเพ
สังขารา อะนิจจา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ, เต มะยัง (ตา มะยัง), โอติณณามะหะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา,
อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา
ปัญญาเยถาติ, จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา,
ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ
ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ, สา สา โน
ปะฏิปัตติ, อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ
สังวัตตะตุ.

๑ อ่านว่า สุด - ตะ - วา (เสียง อะ ครึ่งเสียง)

๒ อ่านว่า นี - ยา - นิ - โก ( นิย ออกเสียงเป็น นี )
๒ อ่านว่า ไส - ยะ - ถี - ทัง
๓ ท่านชายว่า “ เต มะยัง ” , ท่านหญิงว่า “ ตา มะยัง ”

๙. ปัตติทานะคาถา

(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง ปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส.)

ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสินี,
ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง,
ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันตุ ปูชิตา,
โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล,
เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว,
สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา,
คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา,
สัปปาณะภูตา สุขิตา ภะวันตุ เต,
ชะลาพุชา เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา,
สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา,
นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต,
สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง,
ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา,
สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ อัตถายะ จะ หิตายะ จะ,
อัมเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน,
วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต.

๑ อ่านว่า วิ - หา - ระ - มัน - ดะ - เล ( ฑ ทุกแห่งออกเป็นเสียง ด )
๒ อ่านว่า อัน - ดะ - สัม - พะ - วา

จบบทสวดมนต์ทำวัตรเช้า

      ทำวัตรเช้าเสร็จแล้ว ให้ทุกคนสำรวมใจนั่งคุกเข่าประนมมือขึ้นพร้อมกัน เพื่อสวดมนต์ระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย ครั้นประธาน กล่าวนำ ทุกคนก็ว่าตามโดยพร้อมเพรียงกัน

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
(กราบครั้งที่หนึ่ง กล่าวว่า)
พุทโธ เม นาโถ, พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งของเรา.

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ.
(กราบครั้งที่สอง กล่าวว่า)
ธัมโม เม นาโถ, พระธรรมเป็นที่พึ่งของเรา.

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.
(กราบครั้งที่สาม กล่าวว่า)
สังโฆ เม นาโถ, พระสงฆ์เป็นที่พึ่งของเรา.

        การกล่าวเช่นนี้ เป็นการแสดงความเคารพอย่างแน่นแฟ้น และเป็นการทำจิตใจให้เลื่อมใสมั่นคงในพระรัตนตรัยยิ่งๆ ขึ้น อันจะเป็นบาทเบื้องต้นที่จะส่งผลให้เราเข้าถึงพระรัตนตรัยภายในได้โดยง่าย
 





รับชมคลิปวิดีโอ
ชมวิดีโอ   Download ธรรมะ

http://goo.gl/9UQxQ


พิมพ์บทความนี้



บทความอื่นๆ ในหมวด

      คำอธิษฐานจิตถวายผ้าอาบน้ำฝน ผ้าเช็ดตัวและหลอดไฟ
      คำกล่าวถวายผ้าอาบน้ำฝนผ้าเช็ดตัวและหลอดไฟ
      โอวาทปาฏิโมกขาทิปาโฐ
      转法轮经 (บทธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ภาษาจีน)
      Dhammacakkappavattana Sutta
      รวมบทสวดมนต์ข้ามปี
      คำกล่าวถวายเครื่องกันหนาว
      คำถวายดอกไม้ธูปเทียนในวันอัฏฐมีบูชา
      บทสวดมนต์พาหุงมหากา พร้อมคำแปล
      คําอธิษฐานจิตปล่อยปลา
      คำกล่าวถวายร่มเป็นสังฆทาน
      บทสวดธรรมกายานุสติกถา
      อานิสงส์ของการรักษาศีล 5




   ค้นหา บทความธรรม    

  ฝันในฝันวิทยา
  สารพันธรรมะ
  ปกิณกธรรม
  ผลการปฏิบัติธรรม
  โครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก
  ธรรมะบันเทิง
  ข่าว
  ข่าวประชาสัมพันธ์
  ข่าวบุญฝากประกาศ
  DMC NEWS
  ข่าวรอบโลก
  กิจกรรมเว็บ dmc.tv
  Scoop - Review DMC
  เรื่องเด่นทันเหตุการณ์
  Review รายการ DMC
  หนังสือธรรมะ
  ธรรมะเพื่อประชาชน
  ที่นี่มีคำตอบ
  หลวงพ่อตอบปัญหา
  อยู่ในบุญ
  สุขภาพนักสร้างบารมี
  นิทานชาดก
  CaseStudy กฎแห่งกรรม
  กฎแห่งกรรม
  เรื่องราวชีวิต
  เหลือเชื่อแต่จริง
  อุทาหรณ์สอนใจ
  ฮอตฮิต...ติดดาว
  วิบากกรรม...ทำให้ทุกข์
  บุญเกื้อหนุน
  ปรโลกนิวส์
  ธรรมะและสมาธิ
  พุทธประวัติ
  สมาธิ
  ผลการปฏิบัติธรรมนานาชาติ
  ทศชาติชาดก
  พุทธประวัติและวันสำคัญ
  บทสวดมนต์
  ศัพท์ธรรมะ ภาษาอังกฤษ
  มหาปูชนียาจารย์
  อานุภาพมหาปูชนียาจารย์
  ประวัติ
  กิจกรรม
  ธุดงค์สถาปนาเส้นทางมหาปูชนียาจารย์
  About DMC
  เกี่ยวกับ DMC
  DMC GUIDE
  มือถือ Mobile
  คู่มือเว็บ www.dmc.tv
  มาวัดพระธรรมกาย
   ค้นหา บทความธรรม    

ธรรมะที่เกี่ยวข้อง - Related