โจทของผมมีอยู่ว่าต้องทำรายงานเรื่อง
การคิดแบบอริยสัจ4
หัวข้อย่อยมีอีกคือ
1.ลักษณะการคิด
2.วิธีการคิด
3.ความเป็นมา
4.ตัวอย่าง
5.การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ช่วยผมทีนะครับ เครียด มากแล้วอะ หาไงก็ไม่เจอ ขอบคุณมากๆครับ
ขอแบ่งบุญกานทุกๆคนนะครับวันที่22ผมไป หล่อพระมา อิอิ

ช่วยผมที2
เริ่มโดย nutUTCC, Apr 27 2007 10:27 PM
มี 6 โพสต์ตอบกลับกระทู้นี้
#1
โพสต์เมื่อ 27 April 2007 - 10:27 PM
#2
โพสต์เมื่อ 27 April 2007 - 11:35 PM
ขออนุญาตลองตอบนะคะ
การคิดแบบอริยสัจ 4 ในความคิดเห็นของ koonpatt คือ
การคิดแบบ คำนึงถึงความสัมพันธ์ของ เหตุ และ ผล เป็นหลัก
เอาตามหัวข้อก่อนนะคะคือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค พร้อมยกตัวอย่างการนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน ยกตัวอย่างเช่น
1. ทุกข์ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้น
ยกตัวอย่างเช่น เป็นหนี้
2. สมุหทัย หมายถึง เหตุที่เกิดขึ้น
เป็นหนี้เพราะอะไร กิน เที่ยว เล่นการพนัน ใช้เงินเกินตัว ไม่ทำมาหากิน
3. นิโรธ หมายถีง สิ่งที่เกิดดับลง
เป็นหนี้แล้วชีวิตดีมั๊ย แย่ลงมั๊ย โดนทวงหนี้ทุกวัน เงินไม่พอใช้ ต้องอยู่อย่างลำบาก ต้องปล้นมั๊ย ต้องโกงมั๊ย ต้องหยิบยืมหรือ เปล่า เพื่อนฝูงรังเกียจมั๊ย ถ้าเราแก้ไขได้ ปัญหาเหล่านี้ก็จะหมดลง
4. มรรค หมายถึง วิธีที่จะดับสิ่งที่เกิดขึ้น
เลิกทำทุกอย่างใน ข้อ 2 แล้วตั้งหน้าตั้งตาหาเงินใช้หนี้ เมื่อหนี้หมด ก็ไม่กลับไปทำสิ่งเหล่านั้นอีก
ลักษณะการคิด คือ ต้องคิดถึง ผลที่เกิด คิดถึงสาเหตุที่ทำให้เกิด และคิดว่าจะแก้ปัญหานั้นอย่างไร สรุปคือ การคิดแบบ มีเหตุ มีผล
วิธีการคิด คือ ต้องคิดเป็นขั้นตอน มีการวิเคราะห์ประกอบ คือ 1.คิดถึงผล คือ ปัญหาที่เกิดขึ้นในตอนนี้ 2.คิดถึงเหตุ คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา 3.คิดว่าถ้าแก้ปัญหาได้จะเป็นอย่างไร คือ การตั้งเป้าหมายชีวิตล่ะค่ะ 4.คิดหาวิธีการแก้ปัญหานั่นเอง
ความเป็นมา ก็คือ คำสอนของพระพุทธเจ้า ก็คือ อริยสัจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ)
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ก็อย่างเช่นที่ยกตัวอย่างไปแล้วนะคะ
รวมไปถึงการทำงาน และ การเรียนด้วย
เช่น
ทุกข์ - สอบตก
สมุหทัย - ไม่อ่านหนังสือ เที่ยวมากไป เล่นมากไป ดูทีวีมากไป ไม่ตั้งใจเรียน
นิโรธ - แก้ได้ ก็สอบผ่าน แถมอาจได้คะแนนดีอีกด้วย
มรรค - อ่านหนังสือให้มากขึ้น เลิกเที่ยว เลิกเล่น เลิกดูทีวี หรือ เที่ยว เล่น ดูทีวี ให้น้อยลง ตั้งใจเรียนมากๆๆๆๆๆ
อันนี้เป็นตัวอย่างที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวันค่ะ
ถ้าแนะนำไปไม่ถูกต้อง koonpatt ต้องขออภัยนะคะ ยังรู้น้อย คิดเอาว่า เป็นการสอบ ต้องรอให้รุ่นพี่ทั้งหลาย ช่วยตรวจคำตอบให้ koonpatt ด้วยนะคะ ถ้ายังเข้าใจอะไรผิดอยู่ รบกวนขอคำแนะนำด้วยค่ะ
ขอบพระคุณมากค่ะ
การคิดแบบอริยสัจ 4 ในความคิดเห็นของ koonpatt คือ
การคิดแบบ คำนึงถึงความสัมพันธ์ของ เหตุ และ ผล เป็นหลัก
เอาตามหัวข้อก่อนนะคะคือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค พร้อมยกตัวอย่างการนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน ยกตัวอย่างเช่น
1. ทุกข์ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้น
ยกตัวอย่างเช่น เป็นหนี้
2. สมุหทัย หมายถึง เหตุที่เกิดขึ้น
เป็นหนี้เพราะอะไร กิน เที่ยว เล่นการพนัน ใช้เงินเกินตัว ไม่ทำมาหากิน
3. นิโรธ หมายถีง สิ่งที่เกิดดับลง
เป็นหนี้แล้วชีวิตดีมั๊ย แย่ลงมั๊ย โดนทวงหนี้ทุกวัน เงินไม่พอใช้ ต้องอยู่อย่างลำบาก ต้องปล้นมั๊ย ต้องโกงมั๊ย ต้องหยิบยืมหรือ เปล่า เพื่อนฝูงรังเกียจมั๊ย ถ้าเราแก้ไขได้ ปัญหาเหล่านี้ก็จะหมดลง
4. มรรค หมายถึง วิธีที่จะดับสิ่งที่เกิดขึ้น
เลิกทำทุกอย่างใน ข้อ 2 แล้วตั้งหน้าตั้งตาหาเงินใช้หนี้ เมื่อหนี้หมด ก็ไม่กลับไปทำสิ่งเหล่านั้นอีก
ลักษณะการคิด คือ ต้องคิดถึง ผลที่เกิด คิดถึงสาเหตุที่ทำให้เกิด และคิดว่าจะแก้ปัญหานั้นอย่างไร สรุปคือ การคิดแบบ มีเหตุ มีผล
วิธีการคิด คือ ต้องคิดเป็นขั้นตอน มีการวิเคราะห์ประกอบ คือ 1.คิดถึงผล คือ ปัญหาที่เกิดขึ้นในตอนนี้ 2.คิดถึงเหตุ คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา 3.คิดว่าถ้าแก้ปัญหาได้จะเป็นอย่างไร คือ การตั้งเป้าหมายชีวิตล่ะค่ะ 4.คิดหาวิธีการแก้ปัญหานั่นเอง
ความเป็นมา ก็คือ คำสอนของพระพุทธเจ้า ก็คือ อริยสัจ 4 (ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ)
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ก็อย่างเช่นที่ยกตัวอย่างไปแล้วนะคะ
รวมไปถึงการทำงาน และ การเรียนด้วย
เช่น
ทุกข์ - สอบตก
สมุหทัย - ไม่อ่านหนังสือ เที่ยวมากไป เล่นมากไป ดูทีวีมากไป ไม่ตั้งใจเรียน
นิโรธ - แก้ได้ ก็สอบผ่าน แถมอาจได้คะแนนดีอีกด้วย
มรรค - อ่านหนังสือให้มากขึ้น เลิกเที่ยว เลิกเล่น เลิกดูทีวี หรือ เที่ยว เล่น ดูทีวี ให้น้อยลง ตั้งใจเรียนมากๆๆๆๆๆ
อันนี้เป็นตัวอย่างที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวันค่ะ
ถ้าแนะนำไปไม่ถูกต้อง koonpatt ต้องขออภัยนะคะ ยังรู้น้อย คิดเอาว่า เป็นการสอบ ต้องรอให้รุ่นพี่ทั้งหลาย ช่วยตรวจคำตอบให้ koonpatt ด้วยนะคะ ถ้ายังเข้าใจอะไรผิดอยู่ รบกวนขอคำแนะนำด้วยค่ะ
ขอบพระคุณมากค่ะ
จึงยังคง เชื่อมั่นและศรัทธาใน "รัก" เหมือนอย่างที่เคย...เสมอมา...และจะตลอดไป
แด่
เธอ...ผู้นำแสงสว่างสู่...กลางใจ
แด่
เธอ...ผู้นำแสงสว่างสู่...กลางใจ
#3
โพสต์เมื่อ 27 April 2007 - 11:41 PM
ก่อนอื่นขอ สาธุๆๆ ก่อนนะครับ
ไปอ่านที่ คุณสิริปโภ ส่งให้สิครับ
แล้วลองหลับตาสบายๆ คิดดีๆครับ
แบบคุณ koonpatt ก็นะดีครับเข้าใจง่ายดีครับ
ไปอ่านที่ คุณสิริปโภ ส่งให้สิครับ
แล้วลองหลับตาสบายๆ คิดดีๆครับ
แบบคุณ koonpatt ก็นะดีครับเข้าใจง่ายดีครับ
#4
โพสต์เมื่อ 28 April 2007 - 10:52 AM
รู้สึกว่าจะมีในหนังสือของวัดเรา เล่มใดเล่มหนึ่งนะครับ ใครทราบบอกที
#5
โพสต์เมื่อ 28 April 2007 - 07:33 PM
QUOTE
การคิดแบบอริยสัจ4
- ไม่แน่ใจว่า หมายถึง การนำมาประยุกต์ใช้ทางโลกในเชิงวิเคราะห์หรือเปล่า เช่น ทุกข์ คือ ปัญหา- บางวิชาชีพจึงนำแนวคิดแบบอริยสัจมาใช้เป็นรูปแบบของหน่วย องค์กร
1. ทุกข์-สถานการณ์/ปัญหา/ประเด็น
2. สมุหทัย-เหตุที่มา/ข้อเท็จจริง
3. นิโรธ-ข้อพิจารณา/การแก้ไข/กรองสถานการณ์
4. มรรค-ข้อเสนอ/วิธี/หนทางปฏิบัติ
- อย่างไรก็ตามรูปแบบแนวคิดทางโลกมักเป็นสมการเชิงซ้อน บางครั้งก็ดี บ้างก็ยิ่งวิเคราะห์ก็ยิ่งวุ่น
- ต่างจากทางธรรมซึ่งเป็นเอกะคือหนึ่งเดียวดังที่คุณสิริปโภ และ คุณ Artit กล่าวไว้
ทำไมต้อง หาคำตอบ ณ แดนไกล ลืมหรือไร ว่าอยู่ใกล้ DMC
#6
โพสต์เมื่อ 30 April 2007 - 10:43 AM
ขอขอบคุณ ทุกคนมากนะครับ ที่ช่วยผม เดี๋ยว ผมจะไป ปล่อยปลาเป็นรางวัลแล้วแบ่งบุยโดยทั่วกันนะครับ
#7
โพสต์เมื่อ 01 May 2007 - 10:45 PM
ทุกท่าน กรุณาอ่านด้วยครับ
อริยสัจ๔ มิใช่ เป็นสมมติสัจจ แต่เป็นปรมัถสัจจ คือความจริงที่อยู่เหนือ กฎไตรรักษ์
อริยสัจ๔ คือธรรมอันประเสริฐ เป็นไปในทางหลุดพ้น ไม่ใช่นำมาใช้เพื่อ คิดในทางโลกีย
จะกล่าวถึงเรื่อง มรรค ที่มีองค์๘ แท้จริงก็คือองค์อันเดียวกัน คือ กิจในการทำพระนิพานให้แจ้ง ครับ
อริยสัจ๔ มิใช่ เป็นสมมติสัจจ แต่เป็นปรมัถสัจจ คือความจริงที่อยู่เหนือ กฎไตรรักษ์
อริยสัจ๔ คือธรรมอันประเสริฐ เป็นไปในทางหลุดพ้น ไม่ใช่นำมาใช้เพื่อ คิดในทางโลกีย
จะกล่าวถึงเรื่อง มรรค ที่มีองค์๘ แท้จริงก็คือองค์อันเดียวกัน คือ กิจในการทำพระนิพานให้แจ้ง ครับ