ผมแปลกใจอยู่อย่างหนึ่งว่าผมไม่เห็นว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบอกความละเอียดของบาป บุญ กรรม ในเชิงคณิตศาสตร์ สมมุติเช่น วันนี้ผมทำบาปไป 10 หน่วย ทำบุญไป 7 หน่วย หรือใช้คณิตศาสตร์มาใช้ประกอบการบรรยายธรรม
อธิบายธรรมในรูปแบบที่ใช้คณิตศาสตร์เข้ามาช่วยในการอธิบายสมมติเช่นบริจาคทานทำให้ละความโลภได้เป็น
ฟังก์ชัน U(t) ทำให้ภายหน้ากรรมส่งผลให้มีทรัพย์เป็นฟังก์ชัน W(t) เป็นระยะเวลา h หน่วย
ถ้าทำอย่างนี้ได้ก็อาจจะทำให้ศาสนาพุทธเป็น "วิทยาศาสตร์ทางใจ" และศาสนากับวิทยาศาสตร์ก็อาจจะรวมเป็นหนึ่งเดียว(ธรรมะคือวิทยาศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์คือธรรมะ)
เมื่ออดีตที่ผ่านมามีคนชื่อ กาลิเลโอรู้ว่าถ้าปล่อยของที่มีมวลต่างกันที่ระดับความสูงเดียวกันพร้อมกัน ของจะตกถึงพื้นพร้อมกันและรู้ว่า ของที่มีมวลมากจะตกแรงกว่าของที่มีมวลน้อย แต่กาลิเลโอก็มิได้บอกความละเอียดของความหนักเบาของแรงในเชิงคณิตศาสาตร์หรือตัวเลข
จนมีอยู่วันหนึ่งมีชายชื่อว่า ไอแซค นิวตัน ได้บอกความละเอียดของความหนักเบาของแรงในเชิงคณิตศาสตร์หรือตัวเลข โดยให้สูตรที่ว่า F= ma และความละเอียดของความหนักเบาของแรงมีหน่วยเป็นนิวตัน เมื่อความเร่งเท่ากัน
ของที่มีมวลมากกว่าย่อมตกแรงกว่า
เช่นเดียวกัน ทำไมผมไม่เห็นใครบอกความละเอียดของธรรมะในเชิงคณิตศาสตร์บ้าง
ไม่ทราบว่าพวกท่านคิดว่าไง

ธรรมะเชิงวิทยาศาสตร์
เริ่มโดย good, Sep 27 2007 03:43 PM
มี 4 โพสต์ตอบกลับกระทู้นี้
#1
โพสต์เมื่อ 27 September 2007 - 03:45 PM
#2
โพสต์เมื่อ 27 September 2007 - 04:53 PM
ท่านเ
#3
โพสต์เมื่อ 27 September 2007 - 08:10 PM
ท่านบอกไว้แล้วครับ เป็นสมการง่ายๆ แต่เราคิดไม่ถึงเอง (X+Y+Z) = O
x = ศีล Y= สมาธิ Z= ปัญญา O= นิพพาน
อนิจจัง - ทุกขัง - อนัตตา = นิพพาน
ขันท์5 - (สัญโยชน์x10) = นิพพาน
กิเลสมาก ผกผันกับบุญน้อย = กิเลสน้อย ก็ผกผันกับบุญมาก
ความ (ฉันทะ x วิริยะ x จิตตะ x วิมังสา) = ความสำเร็จ ฯลฯ..
ธรรมะเป็นวิทยาศาสตร์ได้ทุกยุคสมัยครับ สุดแล้วแต่ว่าพระพุทธเจ้าท่านเกิดในยุคที่มนุษย์มีประเพณี วัฒนธรรมแบบใด และควรจะสั่งสอนเวย์ในยสัตว์ด้วยความเข้าใจแบบใด สมัยก่อน เราเรียกพระไตรปิฏก ไตรแปลว่า 3 ปิฏกแปลว่า ตระกร้า เดี๋ยวนี้เราเรียก ธรรมะเป็นไฟล์ เป็นDATA เป็น แผ่นCD
อ่านเรื่องนี้ดูนะครับ
http://www.dmc.tv/fo...showtopic=13789
x = ศีล Y= สมาธิ Z= ปัญญา O= นิพพาน
อนิจจัง - ทุกขัง - อนัตตา = นิพพาน
ขันท์5 - (สัญโยชน์x10) = นิพพาน
กิเลสมาก ผกผันกับบุญน้อย = กิเลสน้อย ก็ผกผันกับบุญมาก
ความ (ฉันทะ x วิริยะ x จิตตะ x วิมังสา) = ความสำเร็จ ฯลฯ..
ธรรมะเป็นวิทยาศาสตร์ได้ทุกยุคสมัยครับ สุดแล้วแต่ว่าพระพุทธเจ้าท่านเกิดในยุคที่มนุษย์มีประเพณี วัฒนธรรมแบบใด และควรจะสั่งสอนเวย์ในยสัตว์ด้วยความเข้าใจแบบใด สมัยก่อน เราเรียกพระไตรปิฏก ไตรแปลว่า 3 ปิฏกแปลว่า ตระกร้า เดี๋ยวนี้เราเรียก ธรรมะเป็นไฟล์ เป็นDATA เป็น แผ่นCD
อ่านเรื่องนี้ดูนะครับ
http://www.dmc.tv/fo...showtopic=13789
#4
โพสต์เมื่อ 28 September 2007 - 09:50 AM
สาธุครับ พระพุทธเจ้าทรงสอนได้ทุกอย่าง
ซึ่งในความเป็นจริงของมนุษย์ การเรียกอะไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศาสตร์เป็นเรื่องที่มนุษย์บัญญัติขึ้นเท่านั้นเอง การที่เราจะตีความอะไรเราก็ต้องเอาความรู้ที่เราเชี่ยวชาญไปจำเอาครับ อยากรู้ว่าพุทธศาสนาเป็นวิทยาศาสตร์ไหมก็ต้องเอาคนที่เชี่ยวชาญวิทยาศาสตร์มาลองเปรียบเทียบครับ
ซึ่งในความเป็นจริงของมนุษย์ การเรียกอะไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศาสตร์เป็นเรื่องที่มนุษย์บัญญัติขึ้นเท่านั้นเอง การที่เราจะตีความอะไรเราก็ต้องเอาความรู้ที่เราเชี่ยวชาญไปจำเอาครับ อยากรู้ว่าพุทธศาสนาเป็นวิทยาศาสตร์ไหมก็ต้องเอาคนที่เชี่ยวชาญวิทยาศาสตร์มาลองเปรียบเทียบครับ
#5
โพสต์เมื่อ 30 September 2007 - 08:32 PM
ทุกอย่างเป็นสิ่งสมมุติ ลาภ ยศ ชื่อเสียง ทุกอย่างเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้งขึ้นทั้งนั้น
เหอะๆ สวัสดีครับ
ปล.ขอบคุณทุกคน
เหอะๆ สวัสดีครับ
ปล.ขอบคุณทุกคน