อยากถามว่าคนประกอบอาชีพขายพระดูพระ จะมีวิบากกรรมไหมคับบ
ตายไปแล้วจะตกนรกไหมคับ
สมมุดว่าเรามีพระอยุ่องค์นึงเปนมรดกจากพ่อ ซึ่งราคาพระนั่น 10 ล้านนน
ถ้าเราเอาไปขายเผื่อที่จะนำเงินมาทำบุญหรือพัฒนาเกี่ยวกับพุทธศาสนา ทั้งหมดจะมีวิบากกรรมเรื่องการขายไหมคับ
เพราะว่าเดิมทีพ่อผมมีพระเครื่องที่มีราคาสูงมากๆ
อยากจะให้แนะนำที คับว่า จะให้ขายทำบุญดี หรือ เก็บไว้ดีคับบ
แนะนำนิดนึงคับ ผมจะได้ทำสิ่งที่ถูก ขอบคุนคับ ^^

อาชีพขายพระ บาปไหมคับ
เริ่มโดย pantagon, Mar 26 2008 05:08 AM
มี 3 โพสต์ตอบกลับกระทู้นี้
#1
โพสต์เมื่อ 26 March 2008 - 05:08 AM
#2
โพสต์เมื่อ 26 March 2008 - 02:01 PM
วัตถุประสงค์หนึ่งของการสร้างพระคือเพื่อสืบอายุพระพุทธศาสนา
ถ้าเราขายแล้วนำเงินมาทำบุญ ผมมีความเห็นว่าไม่ผิดวัตถุประสงค์ของครูบาอาจารย์ครับ
และผมขออนุโมทนาบุญล่วงหน้าเลยครับ
ถ้าเราขายแล้วนำเงินมาทำบุญ ผมมีความเห็นว่าไม่ผิดวัตถุประสงค์ของครูบาอาจารย์ครับ
และผมขออนุโมทนาบุญล่วงหน้าเลยครับ
#3
โพสต์เมื่อ 26 March 2008 - 03:36 PM
ใจเป็นใหญ่ ใจเป็นประธาน
การที่เราบูชา พระปฏิมากร เพื่อระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย
ต้องถามก่อนว่า การขายพระ การะดูพระ ขณะนั้น ใจมุ่งหวังอะไร
หวังในสิ่งที่เป็นกุศลกรรมหรือไม่ เช่นหวังบูชาคุณพระรัตนตรัยหรือไม่ ถ้าหวังทำนองนี้ก็น่าจะโอเค เป็นกุศลกรรม
หรือหวังโลภ อยากได้เงิน อยากขายเหมือนขายวัตถุโบราณ อะไรทำนองนี้ ถ้าหวังทำนองนี้ก็ไม่ค่อยจะดีนัก เพราะพระปฏิมากรคือของสูง การเอาของสูงมาเป็นวัตถุที่สนองกิเลสความโลภก็เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องนัก
การที่เราบูชา พระปฏิมากร เพื่อระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย
ต้องถามก่อนว่า การขายพระ การะดูพระ ขณะนั้น ใจมุ่งหวังอะไร
หวังในสิ่งที่เป็นกุศลกรรมหรือไม่ เช่นหวังบูชาคุณพระรัตนตรัยหรือไม่ ถ้าหวังทำนองนี้ก็น่าจะโอเค เป็นกุศลกรรม
หรือหวังโลภ อยากได้เงิน อยากขายเหมือนขายวัตถุโบราณ อะไรทำนองนี้ ถ้าหวังทำนองนี้ก็ไม่ค่อยจะดีนัก เพราะพระปฏิมากรคือของสูง การเอาของสูงมาเป็นวัตถุที่สนองกิเลสความโลภก็เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องนัก
#4
โพสต์เมื่อ 26 March 2008 - 04:08 PM
ส่วนมากพระเขาจะไม่กล่าวว่าขายนะครับ จะเรียกว่าปล่อยหรือปล่อยเช่าจะดีกว่า
จะบาปหรือไม่บาปขึ้นอยู่กับใจและวิธีครับ หากนำพระไปปล่อยเช่าโดยไปอวดอ้างสรรพคุณเกินจริงเราก็จะบาปในข้อมุสา เช่น ทำจากวัสดุคุณภาพธรรมดาแต่ไปอวดอ้างบอกเขาว่าเป็นวัสดุชั้นดี เป็นต้น
ผมขอแนะนำนะครับ หากจะนำพระไปปล่อยเช่า จะต้องมีผู้ที่มีความรู้ทางด้านนี้มากพอสมควรไปด้วยนะครับ หากเป็นเพื่อนหรือญาติด้วยยิ่งดี เพราะการนำพระไปปล่อยเช่า เป็นอะไรที่ยากมากทีเดียว ต้องทันเล่ห์เหลี่ยมคนรับด้วย ที่สำคัญต้องพูดเป็น ไม่เช่นนั้นแล้ว อาจถูกกดราคาเหลือเพียงนิดเดียวได้
แต่ถ้าจะให้ดีไม่ว่าเป็นพระห้อยคอหรือพระประธาน ถ้าถือให้เป็นตัวแทนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่จำเป็นต้องนำไปปล่อยเช่าก็ได้ครับ
จะบาปหรือไม่บาปขึ้นอยู่กับใจและวิธีครับ หากนำพระไปปล่อยเช่าโดยไปอวดอ้างสรรพคุณเกินจริงเราก็จะบาปในข้อมุสา เช่น ทำจากวัสดุคุณภาพธรรมดาแต่ไปอวดอ้างบอกเขาว่าเป็นวัสดุชั้นดี เป็นต้น
ผมขอแนะนำนะครับ หากจะนำพระไปปล่อยเช่า จะต้องมีผู้ที่มีความรู้ทางด้านนี้มากพอสมควรไปด้วยนะครับ หากเป็นเพื่อนหรือญาติด้วยยิ่งดี เพราะการนำพระไปปล่อยเช่า เป็นอะไรที่ยากมากทีเดียว ต้องทันเล่ห์เหลี่ยมคนรับด้วย ที่สำคัญต้องพูดเป็น ไม่เช่นนั้นแล้ว อาจถูกกดราคาเหลือเพียงนิดเดียวได้
แต่ถ้าจะให้ดีไม่ว่าเป็นพระห้อยคอหรือพระประธาน ถ้าถือให้เป็นตัวแทนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่จำเป็นต้องนำไปปล่อยเช่าก็ได้ครับ
1) พระปัญญาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 20 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 4 อสงไขย กับ แสนมหากัป) เช่น พระสัมมาพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน คือ พระสมณโคมสัมมาสัมพุทธเจ้า (อย่างน้อยที่สุด)
2) พระศรัทธาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 40 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 8 อสงไขย กับ แสนมหากัป) (อย่างน้อย)
3) พระวิริยาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 80 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 16 อสงไขย กับ แสนมหากัป) เช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ต่อไป คือ พระศรีอาริยเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้า (เป้าหมาย
2) พระศรัทธาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 40 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 8 อสงไขย กับ แสนมหากัป) (อย่างน้อย)
3) พระวิริยาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 80 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 16 อสงไขย กับ แสนมหากัป) เช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ต่อไป คือ พระศรีอาริยเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้า (เป้าหมาย