อยากทราบหนะค่ะว่าการทำงานให้กับนิตยสารเกี่ยวกับรถยนต์ ซึ่งก็จะมีภาพโฆษณารถยนต์ และมีภาพผู้หญิงโชว์สัดส่วนนิดหน่อย
เราทำงานนี้จะมีบาปกับเราหรือเปล่าคะ

สงสัยว่าจะบาปมั้ย
เริ่มโดย ใสเย็น, Aug 07 2008 04:54 PM
มี 5 โพสต์ตอบกลับกระทู้นี้
#1
โพสต์เมื่อ 07 August 2008 - 04:54 PM
pthata.hi5.com
#2
โพสต์เมื่อ 07 August 2008 - 06:37 PM
อะไรที่ทำให้ผู้บริโภคเกิดความโลภ โกรธ หรือหลง แล้วล่ะก็..
มีวิบากกรรมติดตัวไปทั้งนั้นแหล่ะครับ..
จะวิบากมากหรือน้อย ก็ขึ้นกับทำให้เขาโลภ โกรธ หรือหลงมากน้อยเท่าใด..
ในทางตรงกันข้าม อะไรที่ทำให้ผู้บริโภคเสื่อมจากโลภ โกรธ หรือหลง แล้วละก็..
มีบุญติดตัวไปแน่นอน จะบุญมากหรือน้อย ขึ้นกับว่าทำให้เขาละวางได้มากน้อยเท่าใด..
พูดง่ายๆ เปลี่ยนคนจากมิจฉาทิษฐิ (ความเห็นผิด) มาเป็นสัมมาทิษฐิ (ความเห็นถูก) ย่อมได้บุญ..
มีวิบากกรรมติดตัวไปทั้งนั้นแหล่ะครับ..
จะวิบากมากหรือน้อย ก็ขึ้นกับทำให้เขาโลภ โกรธ หรือหลงมากน้อยเท่าใด..
ในทางตรงกันข้าม อะไรที่ทำให้ผู้บริโภคเสื่อมจากโลภ โกรธ หรือหลง แล้วละก็..
มีบุญติดตัวไปแน่นอน จะบุญมากหรือน้อย ขึ้นกับว่าทำให้เขาละวางได้มากน้อยเท่าใด..
พูดง่ายๆ เปลี่ยนคนจากมิจฉาทิษฐิ (ความเห็นผิด) มาเป็นสัมมาทิษฐิ (ความเห็นถูก) ย่อมได้บุญ..
#3
โพสต์เมื่อ 07 August 2008 - 07:41 PM
เรื่องอาชีพ เห็นเพื่อนๆสมาชิกเริ่มกังวลกันเยอะ
ในความเห็นส่วนตัว มองว่าให้ยึดหลักการของพระสัมมาฯ คือ ไม่ค้า มนุษย์ สัตว์ ยาพิษ อาวุธ
และเพิ่มเติมจากพระเดชพระคุณหลวงพ่อ คือห้ามค้าอบายมุข และเหตุที่จะดึงให้คนผิดศีล5 รวมทั้ง อาชีพที่จะทำให้คนหลงไปในราคะ โทสะ โมหะ ตรงๆ
ถ้าเจออย่างที่กล่าวมา ยิ่งเปลี่ยนเร็ว ยิ่งกรรมน้อยจ้ะ รีบๆเลย
แต่ถ้าอาชีพที่ทำ ไม่มีข้อห้ามโดยตรงเลย แต่บังเอิญไปมีส่วนข้องเกี่ยวบ้างบางงาน
อาจจะไม่สบายใจนัก แต่มองว่าให้พิจารณาที่น้ำหนักของความข้องเกี่ยวนั้นเป็นเคสๆไป
ถ้าไม่ดีมาก ให้ขอหัวหน้า เลี่ยงการทำหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในองค์กรนั้นๆก่อน
ถ้าไม่ได้จริงๆ ค่อยๆหาโอกาสเปลี่ยนงานนะจ๊ะ ชีวิตบางครั้งจังหวะ สำคัญมาก
เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะ อาชีพในปัจจุบัน มักใช้สตรีบ้าง ของฟุ้งเฟ้อบ้าง มาล่อให้ผู้ซื้อเกิดราคะ เกิดกิเลส
จนอยากมาใช้สินค้าและบริการ จนเป็นเรื่องปกติของการประชาสัมพันธ์ กับมนุษย์รุ่นกิเลส... ปัญญา... เสียแล้วนา
จะหาบริสุทธิ์ บริบรูณ์นั้น ยากเหลื่อเกิน..
เพราะฉนั้น..
ระวังไว้ น่ะดีจ้า แต่อย่าถึงกับระแวงนะจ๊ะ ใจจะทุกข์จนไม่เป็นอันทำอะไรกันพอดีจ้ะ
ในความเห็นส่วนตัว มองว่าให้ยึดหลักการของพระสัมมาฯ คือ ไม่ค้า มนุษย์ สัตว์ ยาพิษ อาวุธ
และเพิ่มเติมจากพระเดชพระคุณหลวงพ่อ คือห้ามค้าอบายมุข และเหตุที่จะดึงให้คนผิดศีล5 รวมทั้ง อาชีพที่จะทำให้คนหลงไปในราคะ โทสะ โมหะ ตรงๆ
ถ้าเจออย่างที่กล่าวมา ยิ่งเปลี่ยนเร็ว ยิ่งกรรมน้อยจ้ะ รีบๆเลย
แต่ถ้าอาชีพที่ทำ ไม่มีข้อห้ามโดยตรงเลย แต่บังเอิญไปมีส่วนข้องเกี่ยวบ้างบางงาน
อาจจะไม่สบายใจนัก แต่มองว่าให้พิจารณาที่น้ำหนักของความข้องเกี่ยวนั้นเป็นเคสๆไป
ถ้าไม่ดีมาก ให้ขอหัวหน้า เลี่ยงการทำหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในองค์กรนั้นๆก่อน
ถ้าไม่ได้จริงๆ ค่อยๆหาโอกาสเปลี่ยนงานนะจ๊ะ ชีวิตบางครั้งจังหวะ สำคัญมาก
เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะ อาชีพในปัจจุบัน มักใช้สตรีบ้าง ของฟุ้งเฟ้อบ้าง มาล่อให้ผู้ซื้อเกิดราคะ เกิดกิเลส
จนอยากมาใช้สินค้าและบริการ จนเป็นเรื่องปกติของการประชาสัมพันธ์ กับมนุษย์รุ่นกิเลส... ปัญญา... เสียแล้วนา
จะหาบริสุทธิ์ บริบรูณ์นั้น ยากเหลื่อเกิน..
เพราะฉนั้น..
ระวังไว้ น่ะดีจ้า แต่อย่าถึงกับระแวงนะจ๊ะ ใจจะทุกข์จนไม่เป็นอันทำอะไรกันพอดีจ้ะ
#4
โพสต์เมื่อ 07 August 2008 - 10:16 PM
อาชีพอะไรที่เสี่ยงบาป เลี่ยงได้เป็นเลี่ยง หลบได้เป็นหลบครับ
บางทีอาชีพเหมือนไม่บาป แต่ต้องทำงานแวดล้อมไปด้วยคนพาล คนทุศีล ก็ไม่ค่อยคุ้มเหมือนกันครับ
บางทีอาชีพเหมือนไม่บาป แต่ต้องทำงานแวดล้อมไปด้วยคนพาล คนทุศีล ก็ไม่ค่อยคุ้มเหมือนกันครับ
#5
โพสต์เมื่อ 08 August 2008 - 12:43 AM
อาชีพใดทำแล้วใจใส มีเวลาได้นั่งธรรมะ ทำอันนั้นเลยค่ะ อิ อิ
#6
โพสต์เมื่อ 08 August 2008 - 09:16 AM
คุณทำงานในส่วนนั้นโดยตรงหรือเปล่าล่ะครับ เช่น จัดหา คัดเลือก หรือเป็นนางแบบเสียเอง ถ้าไม่ก็ไม่บาปหรอกครับ
การที่จะทราบว่างานที่ทำอยู่นั้นบาปหรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆอย่างดังนี้ครับ
1. เป็นผู้รับผิดชอบในงานหรือหน้าที่นั้นโดยตรง เช่น เป็นผู้ลงมือกระทำเองหรือเป็นนางแบบเอง
2. เป็นผู้สนับสนุน เช่น ออกไอเดีย ออกเงินในการว่าจ้าง ชักชวน จัดหา คัดเลือก ช่วยติดต่อ
3. งานนั้นส่งผลต่อสภาพจิตใจของผู้ที่รับข้อมูลในทางลบ
แต่หากว่าคุณไม่ได้ทำงานในส่วนนั้นหรือแผนกที่รับผิดชอบในเรื่องนั้น เช่น ทำงานฝ่ายการเงิน ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในเรื่องนี้ ยุ่งอยู่กับตัวเลขอย่างเดียว แบบนี้คุณก็ไม่มีบาปหรอกครับ
สมมุติ คุณทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ดีไซด์ นำภาพที่ได้มารวมหน้า หากคุณทำโดยไม่คิดอะไรทำเพราะเป็นหน้าที่ คุณก็ไม่มีบาปแม้แต่น้อย หรือถ้าอาจจะมีก็ไม่มากนัก แต่ถ้าคุณทำโดยมีจิตคิดในทางไม่ดี เช่น มุ่งเน้นไปที่สิ่งที่ดึงดูดล่อตาล่อใจ อันได้แก่เรือนร่างของนางแบบ บาปก็เริ่มเข้าตัวแล้วล่ะครับ แล้วถ้าผู้ที่ซื้อไปดู ดูแล้วเกิดจิตคิดอกุศล คุณก็บาปเต็มๆเลยล่ะครับ
การที่จะทราบว่างานที่ทำอยู่นั้นบาปหรือไม่ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆอย่างดังนี้ครับ
1. เป็นผู้รับผิดชอบในงานหรือหน้าที่นั้นโดยตรง เช่น เป็นผู้ลงมือกระทำเองหรือเป็นนางแบบเอง
2. เป็นผู้สนับสนุน เช่น ออกไอเดีย ออกเงินในการว่าจ้าง ชักชวน จัดหา คัดเลือก ช่วยติดต่อ
3. งานนั้นส่งผลต่อสภาพจิตใจของผู้ที่รับข้อมูลในทางลบ
แต่หากว่าคุณไม่ได้ทำงานในส่วนนั้นหรือแผนกที่รับผิดชอบในเรื่องนั้น เช่น ทำงานฝ่ายการเงิน ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในเรื่องนี้ ยุ่งอยู่กับตัวเลขอย่างเดียว แบบนี้คุณก็ไม่มีบาปหรอกครับ
สมมุติ คุณทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ดีไซด์ นำภาพที่ได้มารวมหน้า หากคุณทำโดยไม่คิดอะไรทำเพราะเป็นหน้าที่ คุณก็ไม่มีบาปแม้แต่น้อย หรือถ้าอาจจะมีก็ไม่มากนัก แต่ถ้าคุณทำโดยมีจิตคิดในทางไม่ดี เช่น มุ่งเน้นไปที่สิ่งที่ดึงดูดล่อตาล่อใจ อันได้แก่เรือนร่างของนางแบบ บาปก็เริ่มเข้าตัวแล้วล่ะครับ แล้วถ้าผู้ที่ซื้อไปดู ดูแล้วเกิดจิตคิดอกุศล คุณก็บาปเต็มๆเลยล่ะครับ
1) พระปัญญาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 20 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 4 อสงไขย กับ แสนมหากัป) เช่น พระสัมมาพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน คือ พระสมณโคมสัมมาสัมพุทธเจ้า (อย่างน้อยที่สุด)
2) พระศรัทธาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 40 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 8 อสงไขย กับ แสนมหากัป) (อย่างน้อย)
3) พระวิริยาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 80 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 16 อสงไขย กับ แสนมหากัป) เช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ต่อไป คือ พระศรีอาริยเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้า (เป้าหมาย
2) พระศรัทธาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 40 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 8 อสงไขย กับ แสนมหากัป) (อย่างน้อย)
3) พระวิริยาธิกพุทธเจ้า สร้างบารมีรวม 80 อสงไขย กับอีก แสนมหากัป (รวมระยะเวลาสร้างบารมีหลังรับพุทธพยากรณ์ คือ 16 อสงไขย กับ แสนมหากัป) เช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ต่อไป คือ พระศรีอาริยเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้า (เป้าหมาย