
ให้ความหมายคำศัพท์เหล่านี้
#1
โพสต์เมื่อ 07 June 2006 - 05:10 PM
1 กษัตริย์
2 พระเจ้าจักรพรรดิ์
3 สมเด็จพระราชาธิบดี
4 สุลต่าน
5 เจ้าผู้ครองนคร
6 ฯลฯ ....
มีใครพอจะให้ความหมายคำศัพท์เหล่านี้ใด้บ้างครับ (ความหมายในยุคปัจจุบันเชิงวิชาการนะครับ)
#2
โพสต์เมื่อ 07 June 2006 - 06:36 PM
ไม่ใชพระเจ้าจักพรรดิ แต่เป็น พระจักรพรรดิ ยศเต็มๆว่า สมเด็จพระจักรพรรดิ
ถ้าเป็น ภรรยาของสมเด็จพระจักรพรรดิ ก็จะใช้ว่า สมเด็จพระจักรพรรดินี
พระจักรพรรดิ -- ประมุขของจักรวรรดิ

DMC The only one
ประกอบเหตุ สังเกตผล ทนเอาเถิด ประเสริฐนัก
ไม่หยุดไม่ถึงพระ ตัวหยุดนี้แหละเป็นตัวสำเร็จ
ผลไม้ดกนกชุม น้ำเย็นปลาชอบอาศัย
คติธรรม พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
#3
โพสต์เมื่อ 07 June 2006 - 06:38 PM
หมายถึง การปกครองแบบจักรวรรดินิยม น่ะครับ
ทั้งวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตไม่ตรัสวาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง ของแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ แม้วาจานั้นตถาคตก็ไม่ตรัส
อนึ่ง ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตย่อมรู้กาลอันควรที่จะใช้วาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบไปด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตไม่ตรัสวาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด แม้เป็นของจริง เป็นของแท้ และไม่ประกอบด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ แม้วาจานั้นตถาคตก็ไม่ตรัส
อนึ่ง ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตย่อมรู้กาลอันควรที่จะใช้วาจานั้น
[/color]
แต่จะต้องศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติให้เหมาะสมแก่ภาวะปัจจุบัน
ด้วยศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง จึงจะเกิดเป็นประโยชน์ขึ้นได้..."
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๒
"รู้ใดก็ไม่ประเสริฐ เท่ารู้แจ้งด้วยปัญญาธรรมอันเกิดมีในตน"
"อัศวินปฏิญาณตนเป็นคนกล้า
ดวงใจเปี่ยมคุณธรรม
ซื่อตรงยึดมั่นในวาจาสัตย์
อุทิศชีวิตพิชิตมาร"
#4
โพสต์เมื่อ 07 June 2006 - 07:34 PM
ที่อยากทราบก็คือ คำเรียกต่างๆเหล่านั้นจะใช้ในการปกครองในประเทศที่มีลักษณะอย่างไรมีรูปแบบอย่างไร
ถ้าจะให้ละเอียด คงต้องศึกษาเรื่องรัฐศาสตร์การปกครองกันใหม่ซะแล้ว
#5
โพสต์เมื่อ 07 June 2006 - 07:43 PM

ทั้งวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตไม่ตรัสวาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง ของแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ แม้วาจานั้นตถาคตก็ไม่ตรัส
อนึ่ง ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตย่อมรู้กาลอันควรที่จะใช้วาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบไปด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตไม่ตรัสวาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด แม้เป็นของจริง เป็นของแท้ และไม่ประกอบด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ แม้วาจานั้นตถาคตก็ไม่ตรัส
อนึ่ง ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตย่อมรู้กาลอันควรที่จะใช้วาจานั้น
[/color]
แต่จะต้องศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติให้เหมาะสมแก่ภาวะปัจจุบัน
ด้วยศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง จึงจะเกิดเป็นประโยชน์ขึ้นได้..."
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๒
"รู้ใดก็ไม่ประเสริฐ เท่ารู้แจ้งด้วยปัญญาธรรมอันเกิดมีในตน"
"อัศวินปฏิญาณตนเป็นคนกล้า
ดวงใจเปี่ยมคุณธรรม
ซื่อตรงยึดมั่นในวาจาสัตย์
อุทิศชีวิตพิชิตมาร"
#6
โพสต์เมื่อ 07 June 2006 - 08:19 PM
มาจากคำว่า เกษตร เพราะสมัยโบราณประชาชนดำรงชีวิตด้วยการทำการเพาะปลูกเป็นหลัก ดังนั้น ผู้ที่นำผู้คนทำการเพราะปลูก จึงแผลงมาเป็น กษัตริย์ ครับ (เคยได้ยินมาว่า อย่างงั้น)
มีคนตอบไปแล้วนะครับ
แยกมาจากคำศัทท์ ราชา + อธิบดี (อธิบดี แปลว่า ผู้เป็นใหญ่)
มหาวิหาร จรัสฟ้า ค่ายิ่งใหญ่
รูปทอง ผ่องผุด ดุจยองใย
สะท้อนถึง ห้วงดวงใจ สุดบูชา
*********************
ยอดเยี่ยม "ธรรมกาย" ผล ..... ผ่องแผ้ว
เลอเลิศล่วงกุศล ..... ใดอื่น
เชิญท่านถือเอาแก้ว ..... ก่องหล้าเรืองสกล
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
#7
โพสต์เมื่อ 07 June 2006 - 08:21 PM
ทั้งวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตไม่ตรัสวาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง ของแท้ แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ แม้วาจานั้นตถาคตก็ไม่ตรัส
อนึ่ง ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตย่อมรู้กาลอันควรที่จะใช้วาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบไปด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตไม่ตรัสวาจานั้น
ตถาคตรู้วาจาใด แม้เป็นของจริง เป็นของแท้ และไม่ประกอบด้วยประโยชน์
แต่วาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ แม้วาจานั้นตถาคตก็ไม่ตรัส
อนึ่ง ตถาคตรู้วาจาใด เป็นของจริง เป็นของแท้ ประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งวาจานั้นเป็นที่รัก เป็นที่เจริญใจของคนอื่นๆ ตถาคตย่อมรู้กาลอันควรที่จะใช้วาจานั้น
[/color]
แต่จะต้องศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติให้เหมาะสมแก่ภาวะปัจจุบัน
ด้วยศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง จึงจะเกิดเป็นประโยชน์ขึ้นได้..."
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๒
"รู้ใดก็ไม่ประเสริฐ เท่ารู้แจ้งด้วยปัญญาธรรมอันเกิดมีในตน"
"อัศวินปฏิญาณตนเป็นคนกล้า
ดวงใจเปี่ยมคุณธรรม
ซื่อตรงยึดมั่นในวาจาสัตย์
อุทิศชีวิตพิชิตมาร"
#8
โพสต์เมื่อ 07 June 2006 - 09:56 PM
แต่ถ้าสมัยก่อนก็ น่าจะเป็น ใช้กับเมืองประเทศราช ซึ่งเป็นนครเล็กนครน้อย ของ อาณาจักรใหญ่

DMC The only one
ประกอบเหตุ สังเกตผล ทนเอาเถิด ประเสริฐนัก
ไม่หยุดไม่ถึงพระ ตัวหยุดนี้แหละเป็นตัวสำเร็จ
ผลไม้ดกนกชุม น้ำเย็นปลาชอบอาศัย
คติธรรม พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
#9
โพสต์เมื่อ 08 June 2006 - 10:33 AM
ความแตกต่างก็มีบ้าง แต่หลักๆ น่าจะเป็นเรื่องของการใช้คำในภาษามากกว่า
อย่างกษัตริย์ก็น่าจะใช้กับประเทศที่เคยเป็นประเทศกสิกรรมมาก่อน
อย่างจักรพรรดิก็น่าจะได้อิทธิพลมาจากคำศัพท์ในพระพุทธศาสนาเรื่องพระเจ้าจักรพรรดิและรัตนะ 7
อย่างสมเด็จพระราชาธิบดีอันนี้น่าจะเป็นคำที่แผลมาจากพวกภาษาบาลี สันสกฤตเพราะมีการสนธิคำ ระหว่าง ราชา + อธิบดี
อย่างสุลต่านก็เป็นการใช้คำของประเทศที่เป็นแขก นับถืออิสลามเป็นหลัก (เป็นคำจากคัมภีร์ของพวกแขกหรือป่าว อันนี้ผมไม่ทราบ)
อย่างเจ้าผู้ครองนคร ก็น่าจะใช้กับประเทศที่เป็นราชอาณาจักรขนาดเล็ก ไม่ค่อยมีบทบาทเท่าไหร่ หรือไม่ก็เป็นประเทศเกิดใหม่ เช่นพวกประเทศที่เป็นหมู่เกาะต่างๆ เป็นต้น (อันนี้ความเห็นส่วนตัวนะครับ)
แต่ทั้งนี้ ทั้งนั้น คำศัพท์ทั้งหมด ก็มารวมกันที่ความหมายว่า เป็นประมุขหรือผู้นำของประเทศที่มีการสืบทอดพระราชอำนาจตามสายโลหิตน่ะครับ
มหาวิหาร จรัสฟ้า ค่ายิ่งใหญ่
รูปทอง ผ่องผุด ดุจยองใย
สะท้อนถึง ห้วงดวงใจ สุดบูชา
*********************
ยอดเยี่ยม "ธรรมกาย" ผล ..... ผ่องแผ้ว
เลอเลิศล่วงกุศล ..... ใดอื่น
เชิญท่านถือเอาแก้ว ..... ก่องหล้าเรืองสกล
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
#10
โพสต์เมื่อ 08 June 2006 - 07:36 PM
#11
โพสต์เมื่อ 09 June 2006 - 07:37 PM
การใช้จักรพรรดิ์ กษัตริย์ เจ้าผู้ปกครองนคร สุลต่าน ฯลฯ จะต่างกันขึ้นกับขนาดของรัฐด้วยครับ
จักรพรรดิ จะใช้กับกรณีของเจ้าผู้ปกครองประเทศใหญ่ ๆ ที่ภายในประเทศประกอบด้วยหลายๆ แคว้นๆ ที่มีประมุขเป็นของตนเอง เช่น จักรพรรดินโปเลียน
ในกรณีของประเทศจีนสมัยก่อนอาจถือว่าเป็นจักรพรรดิ์ได้ เพราะถือว่าได้ปกครองแคว้นต่างๆ ที่มีเป็นประมุขปกครองอีกทีนึง(คืออ๋อง) แต่ในจีนจะนิยมเรียกฮ่องเต้ มากกว่าจักรพรรดิ
ส่วนในประเทศญี่ปุ่น อาจเป็นการอนุโลมเรียกตามเขา เพราะเขาถือว่า สมัยก่อนญี่ปุ่นก็ประกอบด้วยรัฐเล็กๆ หลายแคว้น (เพราะประเทศเป็นเกาะ) ต่อมาจักรพรรดิของเขาก็ได้รวบรวมแคว้นต่างๆ ให้มาอยู่ภายให้การปกครองเดียวกัน
ส่วนประเทศที่มีตำแหน่งประมุขเป็นกษัตริย์ ก็เป็นประเทศปกติทั่วๆ ไปครับ
แต่บางประเทศมีประมุขของประเทศ เป็นตำแหน่งแค่เจ้าชาย เช่น เจ้าชายแห่งโมนาโค ก็เพราะเขาเป็นรัฐเล็กๆ ครับ
นอกจากนี้ก็ยังขึ้นอยู่กับความนิยม และธรรมเนียมที่ใช้เรียกสืบกันมาครับ เช่น
ประมุขของรัฐหรือประเทศอิสลาม ก็จะใช้ตำแหน่ง สุลต่าน
ประมุขของรัฐวาติกัน ก็เป็น ตำแหน่งพระสันตปาปา
ประมุขของธิเบตสมัยที่ยังเป็นรัฐอิสระ ใช้ตำแหน่ง ทะไลลามะ ครับ
#12
โพสต์เมื่อ 06 March 2007 - 05:09 PM