ไปที่เนื้อหา


รูปภาพ
* * * * * 1 คะแนน

พุทธวจนในธรรมบท หมวดพระพุทธเจ้า - THE ENLIGHTENED ONE


  • คุณไม่สามารถตั้งกระทู้ใหม่ได้
  • กรุณาลงชื่อเข้าใช้เพื่อตอบกระทู้
มี 1 โพสต์ตอบกลับกระทู้นี้

#1 ThDk

ThDk
  • Members
  • 259 โพสต์
  • Location:Struer, Denmark
  • Interests:จุดมุ่งหมายของการประพฤติพรรหมจรรย์ เพื่อสำรอกราคะ... เพื่อละสังโยชน์... เพื่อถอนอานุสัย.. เพื่อรู้รอบสังสารวัฎอันยืดยาว... เพื่อความสิ้นอาสวะ... เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งผลคือ วิชชาและวิมมุติ... เพื่อญาณทัศนะ... เพื่อปรินิพพาน อันปราศจากอุปทาน.

โพสต์เมื่อ 25 February 2007 - 02:49 AM

๑. ยสฺส ชิตํ นาวชียติ
ชิตมสฺส โน ยาติ โกจิ โลเก
ตํ พุทฺธมนนฺตโคจรํ
อปทํ เกน ปเทน เนสฺสถ ฯ ๑๗๙ ฯ

พระพุทธเจ้าพระองค์ใด
ทรงชนะกิเลสได้เด็ดขาด
กิเลสที่ทรงชนะแล้วไม่ติดตามพระองค์ไปอีก
พระพุทธเจ้าองค์นั้น
ทรงมีพระสัพพัญญุตญาณหาที่สุดมิได้
ไม่ไปตามทางของกิเลสแล้ว
พวกเธอจะนำท่านไปตามทางไหนเล่า



Whose conquest is not turned into defeat,
Whom not even a bit of conquered passion follows-
That trackless Buddha of infinite range,
By which way will you lead him?



๒. ยสฺส ชาลินี วิสตฺติกา
ตณฺหา นตฺถิ กุหิญฺจิ เนตเว
ตํ พุทฺธมนนฺตโคจรํ
อปทํ เกน ปเทน เนสฺสถ ฯ ๑๘๐ ฯ


พระพุทธเจ้าพระองค์ใด
ไม่มีตัณหาดังตาข่าย อันมีพิษสงร้ายกาจ
พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น
ทรงมีพระสัพพัญญุตญาณหาที่สุดมิได้
ไม่ไปตามทางของกิเลสแล้ว
พวกเธอจะนำท่านไปตามทางไหนเล่า


Whom no entangling and poisonous
Passions can lead astray-
That trackless Buddha of infinite range,
By which way will you lead him?



๓. เย ฌานปฺปสุตา ธีรา
เนกฺขมฺมูปสเม รตา
เทวาปิ เตสํ ปิหยนฺติ
สมฺพุทฺธานํ สตีมตํ ฯ ๑๘๑ ฯ



เหล่าเทวดาย่อมรักธีรชน
ผู้ขวนขวายในกรรมฐาน
ยินดีในนิพพานอันสงบ
มีสติและรู้แจ้งจบสัจธรรม



Absorbed in meditation pratice,
Delighting in the peace of Nibbana
Mindful, wise and fully enlightened-
Such men even the gods hold dear.



๔. กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ
กิจฺฉํ มจฺจาน ชีวิตํ
กิจฺฉํ สทฺธมฺมสฺสวนํ
กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท ฯ ๑๘๒ ฯ



ยาก ที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์
ยาก ที่ชีวิตสัตว์อยู่สบาย
ยาก ที่จะได้ฟังธรรมของสัตบุรุษ
ยาก ที่พระสัมพุทธจะอุบัติมา



Hard is it to be born as a man,
Hard is the life of mortals,
Hard is it to hear the Truth Sublime,
Hard as well is the Buddha's rise.



๕. สพฺพปาปสฺส อกรณํ
กุสลสฺสูปสมฺปทา
สจิตฺตปริโยทปนฺ
เอตํ พุทฺธาน สาสนํ ฯ ๑๘๓ ฯ


ไม่ทำความชั่วทุกชนิด
ทำแต่ความดี
ทำใจให้ผ่องใส
นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย



Abstention from all evil,
Cultivation of the wholesome,
Purification of the heart;
This is the Message of the Buddhas.



๖. ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา
นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา
น หิ ปพฺพฃิโต ปรูปฆาตี
สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโต



ขันติคือความอดทน เป็นตบะอย่างยอด
นิพพาน ท่านผู้รู้กล่าวว่าเป็นยอด
ผู้ที่ยังทำร้ายผู้อื่นอยู่ ไม่จัดว่าเป็นบรรพชิต
ผู้ที่ยังเบียดเบียนคนอื่นอยู่ ไม่จัดว่าเป็นสมณะ


Forbearance is the highest ascetic practice,
'Nibbana is supreme'; say the Buddhas.
he is not a 'gone forth' who harms another.
He is not a recluse who molests another.




๗. อนูปวาโท อนูปฆาโต
ปาฏิโมกฺเข จ สํวโร
มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ
ปนฺตญฺจ สยนาสนํ
อธิจิตฺเต จ อาโยโค
เอตํ พุทฺธาน สาสนํ ฯ ๑๘๕ ฯ



ไม่ว่าร้ายใคร
ไม่กระทบกระทั่งใคร
ระมัดระวังในปาติโมกข์
บริโภคพอประมาณ
อยู่ในสถานสงัด
ฝึกหัดจิตให้สงบ
นี้คือคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย



To speak no ill,
To do no harm,
To observe the Rules,
To be moderate in eating,
To live in a secluded abode,
To devote onself to meditation-
This is the Message of the Buddhas.



๘. น กหาปณวสฺเสน
ติตฺติ กาเมสุ วิชฺชติ
อปฺปสฺสาทา ทุกฺขา กามา
อิติ วิญฺญาย ปณฺฑิโต ฯ ๑๘๖ ฯ



๙. อปิ ทิพฺเพสุ กาเมสุ
รตึ โส นาธิคจฺฉติ
ตณฺหกฺขยรโต โหติ
สมฺมาสมฺพุทฺธสาวโก ฯ ๑๘๗ ฯ


ถึงแม้เงินตราจะไหลมาดังห่าฝน
ความอยากของคนก็หาอิ่มไม่
กามวิสัยทั้งหลายมีความสุขจริงๆน้อย
เต็มไปด้วยความทุกข์สารพัด
รู้ชัดดังนี้แล้ว สาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ย่อมไม่ยินดีในกามารมณ์แม้ที่เป็นทิพย์
หากแต่ยินดีในทางสิ้นกิเลสตัณหา


Not in a rain of golden coins
Is satisfaction to be found.
' Of little joy, but painful are sensual pleasures';
Thus the wise man clearly comprehends.
Even in the heavenly pleasures
He finds no satisfaction.
In the destruction of all desires,
The Fully Awakened One's disciple delights.



๑๐. พหู เว สรณํ ยนฺติ
ปพฺพตานิ วนานิ จ
อารามรุกฺขเจตฺยานิ
มนุสฺสา ภยตชุชิตา ฯ ๑๘๘ ฯ
คนเป็นจำนวนมาก เมื่อภัยมาถึงตัว
พากันยึดเอาสิ่งต่างๆเป็นที่พึ่ง
อาทิ ภูเขา ป่าไม้ สวน
ต้นไม้ และเจดีย์


Many men in their fear
Betake themselves for a refuge
To hills, woods, gardens
Sacred trees and shrines.




๑๑. เนตํ โข สรณํ เขมํ
เนตํ สรณมุตฺตมํ
เนตํ สรณมาคมฺม
สพฺพทุกฺขา ปมุจฺจติ ฯ ๑๘๙ ฯ


นั่นมิใช่ที่พึ่งอันปลอดภัย
นั่นมิใช่ที่พึ่งอันสูงสุด
อาศัยที่พึ่งชนิดนั้น
ก็ไม่พ้นทุกข์ทั้งปวงได้


Such a refuge is not secure,
Such a refuge is not supreme.
To such a refuge shoulf one go,
One is not released from all sorrow.



๑๒. โย จ พุทฺธญฺจ ธมฺมญฺจ
สงฺฆญฺจ สรณํ คโต
จตฺตาริ อริยสจฺจานิ
สมฺมปฺปญฺญาย ปสฺสติ ฯ ๑๙๐ ฯ




๑๓. ทุกฺขํ ทุกฺขสมุปฺปาทํ
ทุกฺขสฺส จ อติกฺกมํ
อริยญฺจฏฺฐงฺคิกํ มคฺคํ
ทุกฺขูปสมคามินํ ฯ ๑๙๑ ฯ


ผู้ถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง
ย่อมเห็นอริยสัจด้วยปัญญาชอบ คือ
ทุกข์, เหตุของทุกข์, ความดับทุกข์ และ
อริยมรรคมีองค์แปด อันเป็นทางดับทุกข์



He who takes refuge in
The Buddha, the Dharma and the Sangha
Sees with wisdom the Four Noble Truths:
Suffering,
The Cause of Suffering,
The Cessation of Suffering,
The Noble Eightfold Path leading to
The Cessation of Suffering.



๑๔. เอตํ โข สรณํ เขมํ
เอตํ สรณมุตฺตมํ
เอตํ สรณมาคมฺม
สพฺพทุกฺขา ปมุจฺจติ ฯ ๑๙๒ ฯ


นั่นแลคือที่พึ่งอันปลอดภัย
นั่นคือที่พึ่งอันสูงสุด
คนเราอาศัยที่พึ่งชนิดนั้น
ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวง


Such indeed is a refuge secure,
Such indeed is a refuge supreme.
To such a refuge should one go,
One is released from all sorrow.




๑๕. ทุลฺลโภ ปุริสาชญฺโญ
น โส สพฺพตฺถ ชายติ
ยตฺถ โส ชายตี ธีโร
ตํ กุลํ สุขเมธติ ฯ ๑๙๓ ฯ


บุรษอาชาไนย หาได้ยาก
เขาย่อมไม่เกิดในตระกูลทั่วไป
คนฉลาดเช่นนี้ เกิดในตระกูลใด
ตระกูลนั้นย่อมเจริญรุ่งเรืองด้วยความสุข



Hard to find is the Man Supreme,
He is not born everywhere.
But where such a wise one is born,
That family thrives happily.




๑๖. สุโข พุทฺธานมุปฺปาโท
สุขา สทฺธมฺมเทสนา
สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี
สมคฺคานํ ตโป สุโข ฯ ๑๙๔ ฯ



การเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้าทั้งหลายให้เกิดสุข
การแสดงพระสัทธรรมให้เกิดสุข
ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข
ความพยายามของหมู่ที่พร้อมเพรียงกันให้เกิดสุข



Happy is the birth of the Buddha,
Happy is the preaching of the Sublime Dharma,
Happy is the unity of the Sangha,
Happy is the striving of the united ones.




๑๗. ปูชารเห ปูชยโต
พุทฺเธ ยทิจ สาวเก
ปปญฺจสมติกฺกนฺเต
ติณฺณโสกปรทฺทเว ฯ ๑๙๕ ฯ


๑๘. เต ตาทิเส ปูชยโต
นิพฺพุเต อกุโตภเย
น สกฺกา ปุญฺญํ สงฺขาตุํ
อิเมตฺตมปิ เกนจิ ฯ ๑๙๖ ฯ


ผู้บูชาท่านที่ควรบูชา
คือพระพุทธเจ้า หรือสาวกของพระพุทธเจ้า
ผู้ล่วงพ้นกิเลสเครื่องขวางกั้น
หมดโศกหมดปรเทวนา สงบระงับ
ปลอดภัยโดยประการทั้งปวง
ใครๆไม่สามารถจะคำนวณบุญของบุคคลผู้นี้ว่า
"เขาได้บุญประมาณเท่านี้"


He who venerates those venerable ones,
Be they the Buddhas or disciples;
Those who have overcome obstacles
And gone beyond distress and lamentation,
Those who are serene and all-secure-
No one is able to calculate
His merit as 'such and such'.












โลกอยู่ภายใต้การครอบงำของชรา ก้าวเข้าไปสู่ชรา ไม่ยั่งยืน

โลกไม่มีผู้ต้านทาน ไม่มีผู้เป็นใหญ่

โลกไม่มีอะไรเป็นของตน จำต้องละทิ้งสิ่งทั้งปวง

โลกพร่องอยู่เป็นนิจ ไม่รู้จักอิ่ม เป็นทาสแห่งตัณหา.

- สละโลกได้ ก็พ้นทุกข์ได้


#2 Peacefulness ™

Peacefulness ™
  • Members
  • 1145 โพสต์
  • Gender:Male
  • Location:On the planet Earth.
  • Interests:Almost everything that helps me to become better and better; especially, the Grestest Dharma of the Lord Buddha

โพสต์เมื่อ 01 March 2007 - 03:44 AM

บทความน่าอ่านดีๆ จาก ท่านกัลยาณมิตร ThDk



เยี่ยมยอดไปเลยครับ ท่าน ThDk

ข้าพเจ้าใคร่ขอ อนุโมทนาบุญทุกๆบุญ กับ ท่าน ThDk สำหรับ ความเพียรอุสาหะ ความมานะพยายาม และความตั้งใจ ที่ได้ตั้งใจกระทำไว้ดีแล้ว ด้วยนะครับ

สาธุ...สาธุ...สาธุ...ครับ



พุทธวจนในธรรมบท หมวดพราหมณ์ - THE BRAHMANA
พุทธวจนในธรรมบท หมวดภิกษุ - THE MONK
พุทธวจนในธรรมบท หมวดตัณหา - CRAVING
พุทธวจนในธรรมบท หมวดช้าง - THE ELEPHANT
พุทธวจนในธรรมบท หมวดนรก - HELL
พุทธวจนในธรรมบท หมวดเบ็ดเตล็ด - MISCELLANEOUS
พุทธวจนในธรรมบท หมวดทาง - THE PATH
พุทธวจนในธรรมบท หมวดเที่ยงธรรม - THE JUST
พุทธวจนในธรรมบท หมวดมลทิน - IMPURITY
พุทธวจนในธรรมบท หมวดความโกรธ - ANGER
พุทธวจนในธรรมบท หมวดความรัก - AFFECTIONS
พุทธวจนในธรรมบท หมวดความสุข - HAPPINESS
พุทธวจนในธรรมบท หมวดพระพุทธเจ้า - THE ENLIGHTENED ONE
พุทธวจนในธรรมบท หมวดโลก - THE WORLD
พุทธวจนในธรรมบท หมวดตน - THE SELF
พุทธวจนในธรรมบท หมวดชรา - OLD AGE
พุทธวจนในธรรมบท หมวดลงทัณฑ์ - PUNISHMENT
พุทธวจนในธรรมบท หมวดบาป - EVIL
พุทธวจนในธรรมบท หมวดพัน - THE THOUSANDS
พุทธวจนในธรรมบท หมวดพระอรหันต์ - THE WORTHY
พุทธวจนในธรรมบท หมวดบัณฑิต - THE WISE
พุทธวจนในธรรมบท หมวดคนพาล - THE FOOL
พุทธวจนในธรรมบท หมวดดอกไม้ - THE FLOWERS
พุทธวจนในธรรมบท หมวดจิต - THE MIND
พุทธวจนในธรรมบท หมวดไม่ประมาท - HEEDFULNESS
พุทธวจนในธรรมบท หมวดคู่ - THE PAIRS


พึงสร้างบารมี และเสพข้อธรรม ณ เว็บบอร์ดแห่งนี้ อย่างผู้มีสติและมีปัญญา
พุทธกิจ ๔๕ พรรษา (สำหรับ อ่าน และ ฟัง)
The basic knowledge of Buddhism to become a better Buddhist Edition 2
ขอเชิญร่วม อนุโมทนาบุญ งานบุญกฐินพระราชทาน ที่ วัดปากน้ำภาษีเจริญ คลิ๊กที่นี้
ขอเชิญร่วม อนุโมทนาบุญ งานบุญกฐินพระราชทาน ที่ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก คลิ๊กที่นี้
.

Who am I?__>>> CLick Here <<< to see my answer Post # 7

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

For any inquiries please

.

รวมภาพองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า:
คลิ๊กที่นี้
คลิ๊กที่นี้ เพื่อ ได้รับ ภาพทั้งหมดของ คำสอนคุณยาย ฉบับรวมเล่ม และภาพ (ฉบับสมบรูณ์)
คลิ๊กที่นี้ เพื่อ D/L 157 files, 557.61 MB, ธรรมมะเทศนา มงคล 38 โดย พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว)
คลิ๊กที่นี้ เพื่อ D/L 58 files, 120.99 MB, for easy listening dharmas.
คลิ๊กที่นี้ เพื่อ D/L 121 really-good-to-read e-books, 295.67 MB.
คลิ๊กที่นี้ เพื่อ Download โปรแกรม Free Download Manager ช่วย Download ไฟล์ใหญ่ๆ ต่างๆ ฟรีครับฟรี
คลิ๊กที่นี้ เพื่อ Download โปรแกรม Acrobat Reader V.5
.
ที่มา: คลิ๊กที่นี้ ปล. สืบเนื้องมาจาก กระทู้นี้ โพสต์โดย ท่าน ฟ้าร้าง
.
เรื่อง การสร้างบารมีของพระโพติสัตว์ เข้าใจได้ไม่ยาก โปรดลอง คลิ๊กที่นี้
.
สนใจอ่าน

The basic knowledge of Buddhism to become a better buddhist Edition 2 คลิ๊กที่นี้

(With some english explanation)

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------

"Do not confuse having a career with having a life"
-= Hillary Clinton =-.... >>>>>>>
CLicK HeRe <<<<<< To Be wisher, To Be smarter, and To Know Better !!!
Lastest Revised: 16/12/2006 | 08:43 PM