หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
ใบลานเถรวาทจารพระศาสน์สืบสายคัมภีร์
เถรวาท เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในพระพุทธศาสนา โดยศัพท์แปลว่า “ตามวาทะของพระเถระ” ซึ่งหมายถึงพระอรหันต์ขีณาสพ ๕๐๐ รูป ผู้ทำปฐมสังคายนา ณ ถ้ำสัตบรรณคูหา หลังพุทธปรินิพพาน ๓ เดือน เป็นนิกายหลักที่นับถือในประเทศศรีลังกา และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
อนุรักษ์คัมภีร์ใบลานไทยรักษาไว้ให้แผ่นดิน
นับแต่การตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แสงแห่งธรรมของพระบรมศาสดาเป็นประดุจแสงสว่างส่องนำทางชีวิตให้แก่ชาวโลกตลอดมา ภายหลังพุทธปรินิพพาน พระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ทำสังคายนาเพื่อเรียบเรียงพระธรรมวินัยและทรงจำสืบทอดต่อ ๆ กันมาด้วยการท่องจำเรียกว่า “มุขปาฐะ”
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก
สืบทอดพุทธธรรม...จากพุทธกาลสู่โลกปัจจุบัน
คัมภีร์พระไตรปิฎกอักษรบาลีถือเป็นข้อมูลชั้นปฐมภูมิที่สืบทอดคำสอนเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีมาตั้งแต่ราว ๆ พ.ศ. ๔๐๐ เศษ ณ ประเทศศรีลังกา และถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนในยุคต่อมา ที่สร้างคัมภีร์ใบลานด้วยความเคารพศรัทธา เพื่อเผยแผ่หรือทดแทนของเดิมที่สูญหายหรือถูกทำลาย
พระไตรปิฎกพิมพ์อักษรไทย อธิปไตยของแผ่นดิน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระไตรปิฎกพิมพ์อักษรไทย อธิปไตยของแผ่นดิน
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว...ก้าวสู่รัตนโกสินทร์ตอนกลาง
แผ่นดินสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางเริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นยุคที่สยามเปิดประเทศสู่อารยธรรมตะวันตกและเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาชาติ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม
พระมหากษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก ตอน ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์สถาปนาขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี รัชกาลที่ ๑ ทรงย้ายราชธานีจากฝั่งกรุงธนบุรีมาฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และพระราชทานนามราชธานีแห่งใหม่ว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ฯ”