มหาโควินทสูตรตอนที่ ๖ (ขอลาบวช)
ชีวิตมีอายุน้อย ถูกชราต้อนเข้าไป ชีวิตที่ถูกชราต้อนเข้าไปแล้ว ย่อมต้านทานไม่ได้ ผู้เห็นภัยในความตายนี้มุ่งต่อสันติ พึงละโลกามิสเสีย
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๕ (พบมหาพรหม)
บุคคลใด ละบาปกรรมที่ตนทำไว้แล้วได้ด้วยกุศล บุคคลนั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง ดุจดวงจันทร์พ้นแล้วจากหมอก ฉะนั้น
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๔ (โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก คนดี หมายถึงผู้ที่มีใจสะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากอกุศล มีศีล ๕ เป็นปกติ
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๓ (สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยฉันนั้น
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๒ (พุทธคุณ ๘ ประการ)
บุคคลผู้ถึงพระรัตนตรัย ชื่อว่าจะเป็นผู้บังเกิดในนรกเป็นต้น ย่อมไม่มี พ้นจากการบังเกิดในอบายแล้ว ยังจะเกิดขึ้นในเทวโลกได้เสวยมหาสมบัติ
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๑ (เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๔)
ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้หรือโลกอื่น หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้นที่เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๓)
วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว ทุกชีวิตย่างสู่วัยเสื่อมและวัยชรา หากเรามองย้อนไปพิจารณาการกระทำของเรามาแล้วพบว่า
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๒)
ทุกชีวิตล้วนมีการแสวงหา บ้างแสวงหาปัจจัยสี่เพื่อใช้ในการดำรงชีวิต บ้างแสวงหาทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ซึ่งเป็นโลกียทรัพย์ภายนอก แต่จะมีใคร
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๑)
การบังเกิดขึ้นของพระรัตนตรัย นำมาซึ่งสันติสุขแก่มวลมนุษยชาติและสรรพสัตว์ทั้งหลาย เมื่อเราเข้าถึงและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระรัตนตรัย ความ
ลักษณะมหาบุรุษ (๓)
เวลาธรรมกาย เป็นเวลาที่ทรงคุณค่าที่ทุกท่านจะได้เจริญสมาธิภาวนาร่วมกัน เพื่อกลั่นกาย วาจา ใจของเรา
ลักษณะมหาบุรุษ (๒)
สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
ลักษณะมหาบุรุษ (๑)
ความมีวรรณะงาม ความมีเสียงเพราะ ความมีทรวดทรงดี ความมีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร อิฐผลทั้งหมดนั้น บุคคลย่อมได้ด้วยบุญนิธินี้
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๒ ชนะพกาพรหม)
การปฏิบัติธรรมที่จะให้ได้ผลดี ต้องรักษาใจให้สงบเยือกเย็น มีเมตตาจิตในสรรพสัตว์ทั้งหลาย ให้มีอารมณ์ดี อารมณ์สบายตลอดเวลา
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ความทุกข์เป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทุกชีวิตต่างปรารถนาความสุข แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๔ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความเห็นถูกจะเป็นต้นทางของความคิดถูก ซึ่งจะทำให้ความคิดก็เริ่มมีระบบระเบียบแบบแผนที่ดี มีความคิดในทางสร้างสรรค์ คิดที่จะพ้นทุกข์และให้พบสุขที่แท้จริง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๕ ชนะสัจจกนิครนถ์)
การฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตของเราทุกคน เพราะชีวิตของผู้มีใจหยุดดีแล้ว เป็นชีวิตที่ประเสริฐ มีพลัง มีความบริสุทธิ์ มีอานุภาพที่จะทำความดี เอาชนะความชั่ว
Share
แชร์ลิงค์หน้านี้