พระอรหันต์และพระสัมมาสัมพุทธเจ้า Dhamma TIME เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2558 หน้า 39
หน้าที่ 39 / 44

สรุปเนื้อหา

พระองค์ทรงเป็นพระอรหันต์ที่ได้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง พระองค์ได้แสดงให้เห็นถึงความเป็นจริงของโลกและสรรพสิ่งต่างๆ ความสำคัญของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในฐานะผู้รู้แจ้ง ทำให้เกิดความเข้าใจในความเป็นจริงและวิธีการดำเนินชีวิตที่ปราศจากกิเลส ผ่านคำสอนที่ยืนยันคุณค่าของการศึกษาธรรม เช่น อิติปิโส เป็นต้น พระองค์ทรงเป็นต้นแบบในการใช้ชีวิตที่ดีและดำรงอยู่ในความบริสุทธิ์

หัวข้อประเด็น

-พระอรหันต์
-พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
-วิชชาและจรณะ
-การฝึกอบรมใจ
-ความจริงของชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เพราะพระองค์ทรงเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ เพียงพร้อมด้วยวิชาแและ จรณ เหตุไปนี้รู้แจ้งโลก เป็นสาการฝึกผู้ที่ครูสอน ได้ยอดเยี่ยม เป็นลตาาของเทวาและ มนุษย์ทั้งหลาย เป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระผู้มีพระ ภาค โลกวิญญู คือ รีแจ้งโลก ทรงสภาพความเป็น ไปของโลกทั้งมด สว่างจนเห็นแจ้งหมด ไม่มีอะไร จะมาข้องเร้นอำพรางได้ พระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามี ประกาศ ดังปรากฏในนสมตนดว่า อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุโธ วิชชาจะระณะสัมปนาโ สกะโต โลโกวิฑู อนุตตะโร บูรพศัพท์ะมะสาธาราติ สัตตา เทวะนะสานัง พุทโธ ภควาติ คะระยัง เป็นพระอรหันต์ คือ หมดกิเลส ที่ หมดกิเลสเพราะว่าพระองค์ทรงฝึกอบรมใจดี จนครบทั้งบวน ถึงกลางกายตลอด ๒ ชั่วโมง เหมือนเอาไข่แดงไปใส่กลางไข่ขาว เอาใจ ไปไว้กลางดวงธรรม ๒ ชั่วโมง ตั้งแต่นครรัฐๆ ไม่ เคยเคลื่อนไหวมาก่อนเลย ก็สมดังที่เราคาดไว้จาด ให้หมดสิ้นไปอย่างสิ้นเชิง สัมมาสัมพุทธโธ ตรัสด้วยพระองค์โดย ชอบ พระองค์ทรงทั้งรู้ ทั้งเห็น แทงตลอดในเหตุ และผลของสรรพสิ่งทั้งหลายตรงตามความเป็นจริง ด้วยพระองค์เอง ไม่ต้องมีผู้สอน วิชชาจะระณะสัมปนาโ เพียพร้อมด้วย วิชชาและจรณะ ทรงได้ “วิชชา” คือ ความรู้ที่ สามารถกำจัดความมืดที่บังครอบงำสรรพสัตว์ ทั้งฝ่ายไม่ให้รู้เห็นความจริงของชีวิตไปเสียได้ “จะนะ” คือ ชอบปฏิบัติเป็นประจำโลก ทรงปฏิบัติหนักแน่นมั่นคงต่อเนื่องเป็นลิขสิทธิ์ เฉลือไต้ เสด็จไปดี คือ พ้นจากกิเลสไปดีแล้ว ไม่มีอายุในโลกอีกแล้ว แล้วพระองค์เสด็จไปถึง สุกะโต เสด็จไปดี คือ พ้นจากกิเลสไปดีแล้ว ไม่ว่าจะในชเวลาแล้ว แล้วพระองค์เสด็จไปถึง อย่างเดียว ก็ มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอยู่ในใจ นำองค์ท่านมาเป็นต้นแบบในระดับไหนก็
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More