ความซับซ้อนของการศึกษาและการคิดค้น ที่นี่มีคำตอบ ฉบับ mini เล่มที่ 7  ชีวิตออกแบบได้ หน้า 99
หน้าที่ 99 / 112

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้กล่าวถึงความซับซ้อนของการศึกษาและการคิดค้นในเรื่องการบริโภคอาหาร โดยยกตัวอย่างการรับประทานก๋วยเตี๋ยวซ้ำๆ และความสำคัญของการเข้าใจระดับลึกในวิทยาศาสตร์ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงในทฤษฎีที่เคยเชื่อว่าไม่ถูกต้อง เช่น ทฤษฎีเกี่ยวกับหลุมดำ การคิดค้นในอดีตที่อาจไม่ถูกต้องทำให้เราเห็นถึงความสำคัญของการที่จะมีความรู้ใหม่ๆ ในการศึกษายุคปัจจุบัน.

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาและการคิดค้น
-ความสำคัญของการวิเคราะห์
-ทฤษฎีหลุมดำ
-การเปลี่ยนแปลงในความรู้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สมมติเรารับประทานอาหารเข้าไปใน ร่างกายซ้ำๆ กัน เราไม่อาจบอกได้ว่า ก๋วยเตี๋ยว ะ ๒๐ ชามนั้น ชามไหน คำไหนจะไปเป็นอวัยวะ อะไร เช่น เป็นแขน เป็นขา เป็นนิ้ว นี่เป็น ตรรกะของท่านที่ให้เหตุผลอย่างนี้เป็นต้น คือ บอกไม่ได้ คนไม่รู้นี่บอกไม่ได้นะ ถูกต้องจ้ะ แต่คนรู้ บอกได้ เพราะการศึกษาเดี๋ยวนี้เขาเจาะละเอียด ลึกๆ เข้าไปในระดับซูเปอร์นาโนกันแล้ว การศึกษาเรื่อง Case study นั้นเป็นเรื่อง ละเอียดอ่อน เป็นเรื่องของการเห็นแจ้งแล้ว จึงจะรู้แจ้ง ไม่ได้ใช้เหตุผลโดยปกติธรรมดา มันเลยกว่านั้นไปแล้ว นักคิดนี่บางที่คิดแล้ว ก็ตั้งทฤษฎีชื่นชมกันมา ๓๐ กว่าปี อย่างเช่น เกี่ยวกับเรื่องหลุมดำ บอกว่าข้อมูลผ่านไม่ได้ กาลเวลาผ่านไปตอนนี้มาบอกใหม่ว่า ที่คิด เมื่อ ๓๐ กว่าปีที่แล้ว คิดผิด ที่จริงข้อมูลผ่าน ได้ นักคิดมักจะเป็นอย่างนี้ แล้วแต่อารมณ์ เหมือนการวาดภาพวาดสวย ชื่นชมดีใจ ถูกต้อง mini
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More