การศึกษาเกี่ยวกับภาษาบาลีและพระไตรปิฎก Dhamma TIME เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2559 หน้า 38
หน้าที่ 38 / 42

สรุปเนื้อหา

ภาษาบาลีมีเสียงเท่านั้นและไม่มีรูปลักษณ์ตายตัว ส่งผลให้แต่ละอาณาจักรใช้ระบบอักษรของตนในการบันทึกผลทำให้เกิดคัมภีร์ที่เป็นเอกสารในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างคัมภีร์ในไทยกับเมียนมาร์ เปิดเผยว่ามีการจัดแบ่งเนื้อหาหลายรูปแบบและขนาดในพระธรรมคำสอน แม้จะมีคัมภีร์ที่เหมือนกันถึง ๔๘,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ซึ่งสร้างความเข้าใจในเนื้อหาได้ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-ภาษาบาลี
-พระไตรปิฎก
-คัมภีร์
-การศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหา
-การเปรียบเทียบคัมภีร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ภาษาบาลีที่รงจำมากว่า ๔๐๐ ปี เป็นภาษาที่มีแต่เสียง ไม่มีรูปลักษณ์เป็นของตนเองแต่ละอาณาจักรจึงใช้อักษรของตนจารึกไว้ภูมิเป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้ปัจจุบันเรามีคัมภีร์เป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้ปัจจุบันเรามีคัมภีร์เป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้ปัจจุบันเรามีคัมภีร์เป็นลายลักษณ์อักษร สำรวจในประเทศไทยสังกาและเมียนมาร์ พบว่าการรวมเนื้อหาในใบลานของพระธรรมคำสอน ๔๘,๐๐๐ พระธรรมขันธ์เหมือนกันแต่ลักษณะการแบ่งเนื้อหาในแต่ละมัดของแต่ละสายจารึ่งกันแตกต่างกัน ซึ่งสามารถอธิบายให้เห็นภาพได้ชัดเจนโดยการเปรียบเทียบกับพระไตรปิฎก ฉบับพิมพ์ อาทิ คัมภีร์นี้ฉบับต้นฉบับฉบับพิมพ์ ประกอบด้วยพระไตรปิฎก ๓ เล่ม คือ สีลขันธวัตร มหาวรรค และปัฏฐานวรรค เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับคัมภีร์ไตรปิฎกในประเทศไทยฉบับด้วยอักษรขอมและธรรมะจะพบว่า คัมภีร์ไตรปิฎกฉบับนี้มัดครอบคลุมเนื้อหาคัมภีร์เพียง ๑ เล่มเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากคัมภีร์พระไตรปิฎกในประเทศไทยที่เป็นพระไตรปิฎกฉบับใหญ่กว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More