ข้อความต้นฉบับในหน้า
2
บทสวดระลึกถึงพระธรรมกาย
ธมฺมกายานุสสติกถา
ทิพพจักขุ ปัญญาจักขุ สมันตจักขุ พุทธจักขุ ธัมมจักขุ ปวรจักขุทวยัง
ทิพพโสตญาณปวรโสตทวยัง
โคตรภูญาณปวรอุตุงคฆานัง
มัคคผลวิมุตติผลญาณปวรคัณฑทวยัง
สัตตตึงสปวรโพธิปักขิยญาณปวรสุภทันตา
โลกิยโลกุตตรญาณปวรโอฏฐทวยัง
จตุมัคคญาณปวรจตุทาฐา
จตุสัจจญาณปวรชิวหา
อัปปฏิบัตญาณปวรหนูกัง
อนุตตรวิโมกขาธิคมนญาณปวรกัณจัง
มีคู่แห่งพระเนตรอันประเสริฐ คือจักษุญาณ ๕ ประการ
คือ ทิพจักษุญาณ ๑
ทศพลญาณ ๑ สัพพัญญุตญาณ ๑
พระปัญญาแจ้งในพุทธประเพณี ๑ พระปัญญาแจ้งในพระ
สัทธรรมไม่มีที่เหลือ ๑ เป็นจักษุญาณ ๕ ประการด้วยกัน
แลพระธรรมกายนั้น
มีคู่แห่งพระโสตอันประเสริฐ คือทิพพโสตญาณ
มีพระนาสิกประเสริฐสูง คือโคตรภูญาณ
มีคู่แห่งพระปรางอันประเสริฐ คือพระญาณอันประพฤติเป็นไป
ในผลแห่งอริยมรรค และผลแห่งวิมุตติธรรม
มีพระทนต์อันงามประเสริฐ คือพระโพธิปักขิยธรรม อัน
ประเสริฐ ๓๗ ประการ
มีสองริมพระโอษฐ์เบื้องบน และเบื้องต่ำ งามประเสริฐ คือ
พระปัญญา อันเป็นโลกีย์ แลโลกุตตร
มีพระเขี้ยวแก้วทั้ง ๔ อันประเสริฐ คือพระจตุมรรคญาณ
มีพระชิวหาอันงามประเสริฐ คือพระปัญญาอันเห็นแจ้งในพระ
จตุราริยสัจจะ
มีพระหนุประเทศอันงามประเสริฐ คือพระญาณอันตรัสรู้ตลอด
ไป ไม่มีที่จะขัดจะข้อง
มีปล้องพระศออันประเสริฐ คือพระญาณ อันตรัสรู้วิโมกขธรรม
อันเป็นพระโลกุตตร
มีลำพระศออันรุ่งเรืองงามประเสริฐ คือ พระไตรลักษณญาณ
มีพระพาหาทั้งสองอันประเสริฐ คือพระจตุเวสารัชชญาณ
ติลักขณญาณปวรวิลสิตคีววิราชิตัง
จตุเวสารัชชญาณปวรพาหุทวยัง
ทสานุสสติญาณปวรวัตตังคุลิโสภา
มีนิ้วพระหัตถ์อันกลมงามประเสริฐ คือพระปัญญา อันตรัสรู้
พระอนุสสติกรรมฐาน ๑๐ ประการ
สัตตสัมโพชฌังคปวรปีณอุรหลัง มีพื้นพระอุระอันเต็มงามประเสริฐ คือพระญาณอันตรัสรู้พระ
สัตตโพชฌงค์
อาสยานุสยญาณปวรถนยุคลัง
มีคู่แห่งพระถันอันประเสริฐ คือปัญญา อันรู้อัชฌาสัยแห่ง
สัตว์ทั้งปวง