อุตติณโณ โลกสันตาโร ธรรมกายานุสติกถา หน้า 5
หน้าที่ 5 / 5

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการสวดมนต์ที่มีใจความเกี่ยวกับพระธรรมกาย อันเป็นการตระหนักถึงความสำคัญของพระผู้มีพระภาคในการนำพาสัตว์โลกให้เข้าถึงพระนิพพาน พร้อมทั้งเล่าถึงความโดดเด่นและอัจฉริยะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เปรียบได้กับแสงรัศมีอันงามงด รวมถึงความสำคัญของการมีธรรมกายที่สว่างในจิตใจ โดยอ้างอิงจากตำราและศิลาจารึกที่แสดงถึงบทบาทสำคัญในการเข้าถึงธรรมะและนิพพาน อันเป็นที่ตั้งของรัตนะที่ทุกคนควรภาคภูมิใจ

หัวข้อประเด็น

-อุตติณโณ
-พระธรรมกาย
-การสวดมนต์
-พระนิพพาน
-อัจฉริยะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อุตติณโณ โลกสันตาโร ชิโน อัปปฏิปุคคโล นิรุปปโม ตัสสะ ภควโต รังสี สัพพาภรณภูสิตา การณัง อัญเญสัง เทวมนุสสานัง มัญเญ การณัง 5 เก บทสวดระลึกถึงพระธรรมกาย ธมฺมกายา สุสติกถา ข้ามถึงฝั่งคือพระนิพพานด้วยพระองค์ ยังสัตว์โลกให้ข้ามถึง ฝั่ง คือพระนิพพาน ชำนะแก่ปัญจพิธมาร หาบุคคลจะเปรียบเทียบมิได้ หาที่จะอุปมามิได้ อันว่าพระรัศมี แห่งพระผู้มีพระภาคนั้น ประดุจเครื่องสรรพอาภรณ์ ประดับพระองค์ อันว่าอัจฉริยะเหตุ แห่งเทพยดา แลมนุษย์ทั้งหลายอื่น จะเหมือนด้วยอัจฉริยะเหตุ พุทธัสสะ เอวะ แห่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์เดียว นะ โหติ หา บ มิได้ จากหนังสือ สวดมนต์แปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ร.ศ.๑๒๔ และหลักศิลาจารึก หลักที่ ๕๔ แปลโดย ศาสตราจารย์ ฉ่ำ ทองคำวรรณ “ธมฺมกายญา ที่เป็นติ เกวล์ รัตนากร วิโกเปต น สกโกนตี โก ทิสวา นปุปสิทติ ฯ” “บุคคลใดยัง “ธรรมกาย” ให้สว่างแล้วทั้งสิ้น อันเป็นบ่อเกิดแห่งรัตนะทั้งหลาย อันบุคคลทั้งหลายไม่มีผู้ใดจะทําร้ายได้ ใครเล่าเมื่อเห็นแล้ว จะไม่ปลาบปลื้มยินดีนั้น ไม่มี (ขุททกนิกาย อปทาน เล่มที่ ๓๒ ข้อ ๑๓๙ หน้า ๒๔๓ บรรทัดที่ ๑ ฉบับบาลี ปี ๒๕๒๕)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More