การสำรวจพฤกษาในพระพุทธศาสนา  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2561 หน้า 46
หน้าที่ 46 / 64

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความสำคัญของพิธีพฤกษาในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในการเรียนรู้ของท่าน Swearer ผู้เชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนาในภาคเหนือของไทย ที่เน้นการทำให้พระพุทธรูปมีชีวิต วัดคำกล (ดำ) เป็นแหล่งสำคัญในนครน่าน มีทั้งพิพิธภัณฑ์ธรรมรังสีและการอนุรักษ์บทสวดคาถาธรรมกาย รวมถึงการนำเสนอความรู้ในพระพุทธธรรม

หัวข้อประเด็น

-พิธีพฤกษา
-พระพุทธศาสนา
-วัดคำกล (ดำ)
-คาถาธรรมกาย
-ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

Mr. Francois Bizot ภาพประกอบ www.gettyimages.com ส่วนท่าน Swearer ก็เช่นกัน ท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนาในภาคเหนือของประเทศไทย มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับพิธีพฤกษาเมื่อพระพุทธรูป โดยท่านมีคำกล่าวว่าพิธีพฤกษาเป็นคือ การ “ทำให้พระพุทธรูปมีชีวิต” และเห็นว่าบทสวดในพิธีพฤกษาที่กล่าวนั้นมีความสำคัญ โดยได้กล่าวไว้ในหนังสือชื่อ “Becoming the Buddha” ภายหลังท่าน Swearer คืผู้หนึ่งที่พบหลักธรรมในล้านนาที่ถูกนำมาใช้ส่วนประกอบพิธีพฤกษาโดยในส่วนของ “คาถาธรรมกาย” ที่นำวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้พบล่าสุด พบว่าที่ตำบลคำกล ดำ ซึ่งทางวัดโดยพระครูชัชธรรมานันท์ เจ้าอาวาสเป็นผู้รู้จัก รับสืบทอด และทรงจำไว้โดยได้ วัดคำกล (ดำ) เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างขึ้นแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในกรุงเทพฯ เป็นวัดที่เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ แหล่งเผยแพร่พระพุทธธรรมที่สำคัญหนึ่งของนครน่าน มีท่านพระครูชัชธรรมานันท์เป็นเจ้าอาวาสปัจจุบัน จุดเด่นของวัดคำกล (ดำ) แห่งนี้ นอกจากเป็นที่ตั้งของ “พิพิธภัณฑ์ธรรมรังสี” (หอคำหลวง) ซึ่งเป็นแหล่งเก็บรวบรวมสิ่งของโบราณที่ทรงคุณค่า แหล่งเรียนรู้มีปัญญาของท้องถิ่นแล้ว ยังเป็นสถานที่อนุรักษ์ตำรายาโบราณ บทสวดคาถาธรรมกายอันล้ำค่า และเป็นพระอารามที่สนับสนุนการปฏิบัติธรรมสำคัญด้วย ๕๕ อยู่ในบุญ พฤษภาคม ๒๕๑๑
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More