ธรรมะเพื่อประชาชน Dhamma TIME เดือนมกราคม พ.ศ. 2556 หน้า 39
หน้าที่ 39 / 42

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับธรรมะและการทำความดีในชีวิตมนุษย์ โดยเฉพาะการรับรู้เกี่ยวกับความไม่เที่ยงของทุกสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต อธิบายถึงความสำคัญของการปล่อยวางจากสิ่งที่ไม่ให้คุณค่า และมุ่งมั่นสร้างความดีซึ่งเป็นหน้าที่ของมนุษย์ ทุกคนต้องเข้าใจถึงความจริงของชีวิตเพื่อเตรียมตัวรับมือกับความตาย ซึ่งเป็นสิ่งที่แน่นอนในชะตากรรมของมนุษย์. พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงให้ข้อคิดที่สำคัญในการรักษาความบริสุทธิ์ทั้งกายและจิตใจ โดยส่งเสริมให้เราไม่ประมาทในกิจกรรมที่สุจริต และมุ่งมั่นพัฒนาตนในการทำความดี. คำสอนของพระองค์นำไปสู่การสร้างชีวิตที่มีคุณค่าภายในตนเอง สู่การเป็นมนุษย์ที่ดีขึ้นในสังคม.

หัวข้อประเด็น

-ธรรมะและความดี
-ความไม่เที่ยงในชีวิต
-การปล่อยวาง
-คำสอนของพระพุทธเจ้า
-การเจริญกายาสุจริต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมะเพื่อประชาชน ทำความดี คือหน้าที่ของมนุษย์ สุรพัฏธ์ และสุรพิง ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และเสื่อมสลายไป ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ หรือสิ่งของต่างๆกายอยู่ในสภาพนั้นๆ คือ มีความไม่เที่ยงแปรปรวนอยูตลอดเวลา เปลี่ยนแปลงไปสู่ความเสื่อมทุกอนุวินาที มนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วก็ต้องตาย แม่แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นเลิศกว่าคนในโลก พระพุทธองค์จะต้องทอดทิ้งพระวรกายไว้ในโลก แล้วดับขันธวินิพพานไป ดังนั้นเราต้องหมันนี้ก็ถึงความตายเสมอ จะได้เป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิต และเร่งขวนขวายสร้างความดีในทุกกรณี สิ่งใดที่ไม่เป็นสาระจะได้ปลดปล่อยให้จิตใจหยุดพักจากความยึดมั่นถือมั่นในคน สัตว์ สิ่งของที่ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอดึต มุ่งแสดงหลงสิ่งที่เป็นนิจจัง เป็นสุข เป็นอัตตา คือ พระวรณตรัยภายในตัวของเรานั้น ให้พิจารณาปล่อยวางอย่างหนึ่ง เพื่อมุ่งเข้าสู่ออกจากอย่างหนึ่ง ที่เป็นสาระแทนสารที่แท้จริงของชีวิต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสไว้ใน อัปมาทสูตร ความว่า “ทุกภิกษุ ทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงละกายทุจริต จงเจริญกายารสุจริต และอย่าประมาทในการละกายทุจริต และการเจริญกายาสุจริตนั้น จงจะจิรญาณ จงเจริญวิสุจจิมันติมิ จงจะโนรูปจิต จงเจริญวิสุจจิ จงอย่าประมาทในการละจิตวิจารณ์ จงจะจิรญาณวิสุจจิ จงอย่าประมาทในการละจิตวิจารณ์ และการเจริญวิสุจจิ จงจะจิรญาณวิสุจจิ จงจะจิรญาณวิสุจจิ จงอย่าประมาทในการละจิตวิจารณ์ และการเจริญวิสุจจิ จงจะจิรญาณวิสุจจิ จงอย่าประมาทในการละจิตวิจารณ์”
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More