ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมยาตรามีในสมัยพุทธกาลไหม ?
มีการโปรยดอกไม้แบบเวิร์วังอันการด้วยไหม ?
แล้วกล่าวสารบุตลอดทางล่ะ..
อย่างนี้ก็ได้ด้วยหรือ ?
ผู้เขียนเชื่อว่า..ผู้อ่านที่เปิดมาอ่านบทความนี้ ต้องสนใจกิจกรรมธรรมยาตราของวัดพระธรรมกายไม่ทางนอกทางบก !!! ไม่ว่าผู้อ่านจะคิดอย่างไรก็ได้กับกิจกรรมนี้ ผู้เขียนก็ไม่ห้ามหรือเปลี่ยนความคิดอะไรของใครไม่ได้
แต่มีเหตุที่ต้องมาเจอบทความนี้แล้ว ก็อยากให้ดูมุมมองอะไรใหม่ ๆ ไป เพื่อเข้าใจเรื่องราวแท้จริงของธรรมยาตรในสมัยพุทธกาล
ถ้าผู้อ่านเป็นคนชอบอ่านพระไตรปิฎก ก็จะรู้ทันทีว่า วัดพระธรรมกายไม่ได้ซีซัวทำโครงการนี้จากกรมในมานเอง เพราะธรรมยาตริดอเป็นพุทธประเพณีที่ม้ามตั้งแต่สมัยพุทธกาล และที่สำคัญ พระสัมมาสัมพุทธเจ้ากรงเป็นผู้นำบุรณะธรรมยาตราด้วยพระองค์เองอีกด้วย
ดังนั้น การที่วัดพระธรรมกายจัดกิจกรรมตามอย่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทำตามพุทธประเพณี ก็ไม่ใช่สิ่งผิดประการใดเลย อีกทั้งยังเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องสืบสานด้วยซ้ำ เพราะก่อนหน้านี้ เทพาจะไม่มีโสรนใจพุทธประเพณีซึงงามนี้เลย และจะมีหลายองค์กรจัดกิจกรรมแบบนี้ขึ้น แต่ก็ยังเป็นกระแสที่เงียบมาก
จนกระทั่งวันหนึ่ง วัดพระธรรมกายทำโครงการนี้มา แม้จะโดนคำในเบื้องต้น ก็ถือเป็นสิ่งที่มีมา เพราะกลายเป็นกระแสที่ทำให้ทั้งประเทศหันกลับมามองและศึกษาว่า..
จริง ๆ แล้วองค์หรือธรรมยาตราดืออะไรบัน? และเมื่อศึกษาก็ได้ความรู้เพิ่ม ส่วนวัดพระธรรมกายจะได้นำไปพัฒนาให้ดียิ่ง โดยปีนี้วัดได้เน้นกิจกรรมในพื้นที่ เพิ่มกิจกรรมสารประโยชน์ และมอบทุนการศึกษาแก่เยาวชน ซึ่งถือว่า..โครงการนี้เข้ามีพัฒนาพื้นที่ส่วนที่ขาดไปของสังคมไทยได้ไม่น้อยทีเดียว
เมษายน ๒๕๖๖ อยู่ในบุญ ๒๗