นวธรรมและหลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน เมษายน พ.ศ.2561 หน้า 44
หน้าที่ 44 / 68

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการค้นคว้าเกี่ยวกับหลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่เชื่อมโยงกับการปฏิบัติธรรมเป็นเวลายาวนาน โดยคณะนักวิจัยจากสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) พบว่าหลักฐานเหล่านี้สอดคล้องกับคำสอนของหลวงปู่พระมงคลเทพมุนี ผลการศึกษาทำให้เห็นว่าธรรมกายเป็นสิ่งที่มีอยู่จริงและปฏิบัติได้จริงซึ่งไม่ใช่แนวคิดใหม่ แต่มีการศึกษาอย่างกว้างขวางในช่วงเวลาที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังมีการค้นพบร่องรอยหลักฐานในคัมภีร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทยซึ่งยืนยันความสอดคล้องกัน.

หัวข้อประเด็น

-หลักฐานธรรมกาย
-การศึกษาธรรมกาย
-ประวัติพระพุทธศาสนา
-การปฏิบัติธรรม
-งานวิจัยของ DIRI

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ฎ อวบน บทความพิเศษ เรื่อง : นวธรรมและคณะนักวิจัย DIRI หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๓) จารึกใบลาน หรือคัมภีร์ใด ๆ ก็ตามที่เกี่ยวข้องนั้น ล้วนแต่กล่าวถึง "ธรรมกาย" ในลักษณะที่เชื่อมโยงกับพระสังฆปัญฑตุบุณและพระปัญญาคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และกล่าวถึงพระธรรมกายในลักษณะที่เชื่อมโยงกับการปฏิบัติธรรม ซึ่งก็เป็นที่น่าอัศจรรย์ว่า ร่องรอยธรรมกายในจีนและยุโรป ในฉบับนี้แล้ว ผู้เขียนและคณะนักวิจัยสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้กล่าวถึงประเด็นสำคัญ ๆ ทั้งท้ายไว้ ๒ ประเด็น ในรายงานผลการทำงาน การศึกษาค้นคว้า การลงพื้นที่สำรวจและทำงานภาคสนามในการค้นหาแหล่งคัมภีร์โบราณในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปีวิชาชาญธรรมกายว่า จากการทำงานศึกษาค้นคว้าหลักฐานธรรมกายตลอด ๑๗ ปีที่ผ่านมา สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ค้นพบว่า บรรดาหลักฐานธรรมกายไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของ ข้อสรุปที่ได้จากหลักฐานธรรมกายดังกล่าวนี้ ก็ล้วนมีความสอดคล้องกับคำสอนของพระเดชพระคุณหลวงปู่ พระมงคลเทพมุนี (สด จนทโลโจ) คฤหัสปุณฺฑกธรรมกาย ด้วยทั้งหมดนี้ ทำให้เราเกิดความเข้าใจว่า ธรรมกายคือสิ่งที่อยู่จริง ปฏิบัติได้จริง และดีจริง ความรู้เรื่องธรรมกายนี้ย่อมไม่ใช่ของใหม่ แต่เป็นสิ่งที่มีผู้ศึกษากันมาอย่างกว้างขวางเป็นเวลานานมาแล้ว เช่นเดียวกันกับการค้นพบร่องรอย หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทย ที่พระเกียรติคุณ กิตติปญฺโญ (ต่อ)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More