ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลังจากได้พบกับนักพระหวัง ท่านเซอร์สตีวนได้ใช้เวลาความคุ้นเคยอยู่ระยะหนึ่ง กระทั่งสามารถเจรจาต่อรองขอซื้อคัมภีร์จำนวนหนึ่งไว้ได้ ซึ่งนักพระหวังได้ดำเนินงานนี้เป็นเงินจำนวนนี้ไปปฏิสังขารภาพวาดและพระพุทธรูปภายในไม่กี่วา
ท่านเซอร์สตีวนได้ใช้เวลาเดินทางไปสำรวจคัมภีร์และรับซื้อวัตถุโบราณล้ำค่่า 3 ครั้งในช่วงปี พ.ศ. ๒๓๓๓-๒๓๔๕ เฉพาะตัวคัมภีร์โบราณที่เขานำไปอังกฤษนั้นมีมากกว่า ๕๕,๐๐๐ ชิ้น ซึ่งปัจจุบันเก็บรักษาไว้ในหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ (British Library) ในชื่อ "สไตน์คอลเลคชัน" (Stein Collection) โดยคัมภีร์เหล่านี้ร้อยร้อยด้วยภาษาและอักษรโบราณต่าง ๆ มากมาย เช่น พราหมณ์, ญโโรจีน, สันสกฤต, ทิเบต, ต้นกู่, โขตตาณ, โดดาเร็น, ซอกเดียน, อยูฏ ร์, เตรา, มงโกเลียน และคัมภีร์จากภาษาจีนซึ่งมีมากที่สุดถึง ๒,๒๒๕ ชิ้นในส่วนของอายุ "คัมภีร์ตุนหวาง" (Dunhuang Manuscripts) เหล่านี้ มีความหลากหลายตั้งแต่คาบลาย พ.ศ. ๓๐๐ กว่า ถึงต้น พ.ศ. ๑๕๐๐
นักวิชาการชาวจีน ศาสตราจารย์ หรงซินเจียง สันนิษฐานว่าคัมภีร์เหล่านี้ในอดีตเคยเก็บรักษาไว้ภายในหอสมุดของวัดตรีโลกาตุหยหุ (sanji se 三界寺) เมืองตุนหวาง ต่อมาคัมภีร์เหล่านี้ถูกโยกย้ายไปซ่อนในห้องลับ เพื่อป้องกันการทำลายของกองทัพมุสลิมเติร์ก ที่ยาตราพบกุนหวางในปี พ.ศ. ๑๕๔๙
จากบันทึกแผ่นศิลาภายในกรวงอุ่ง ชื่อ "หลีจูไม่ภาคภูโค้ยเนเปย" (李君其高墳) ระบุว่ารูปเหตุของการสร้างข้าทำพระพันของคั่น เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. ๑๙๙๙ ครั้งนั้นพระเล่อจง (樂尊) ได้จารึกผ่านมาแก่บุญหวัง แล้วเห็นมินติ้วยเทาป่า คือ เห็นพระพุทธเจ้าบนพันองค์เรืองรองสำร่างไว้สวอลอยอยู่เหนือชั้นเวย จากนิยามนี้ ท่านจึงได้ตรงใจกะจา
ภูเขาให้เป็นคำในบริเวณนั้น เพื่อใช้เป็นสวดมนต์ทำสมาธิภาวนา ต่อมาเมื่อมีพระภิกษุมากขึ้น จึงขยายจำนวนกำลังเพิ่มขึ้น กระทั่งถึงยุคพุทธศตวรรษที่ ๕๓ (ราว พ.ศ. ๑๕๐๐) บริเวณนี้ก็กลายเป็นศูนย์กลาง ลพุทธศาสนสถานที่สำคัญ และเป็นจุดทางสำหรับการค้าขายและการเดินทางรุ่งเรือง เชื่อมระหว่างแผ่นดินจีน เอเซียกลาง และอินเดีย ทำให้ท่านหวางกลายเป็นศูนย์กลางการศึกษาทั้งภาคปริยัติและภาคปฏิบัติทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญแห่งหนึ่งในยุคกว่าพันปีที่ผ่านมา
พฤศจิกายน ๒๕๖๕ อยูในบุญ