ข้อความต้นฉบับในหน้า
ลอนดอน จากการวิจัยพบว่า หนึ่งในคัมภีร์ตรุษวันที่ถูกเก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ นั้น มีคัมภีร์คู่มือการทำสมาธิรออยู่ด้วย จากการวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของคัมภีร์ นี้ มีพบว่า ตัวคัมภีร์ถูกหุ้มไว้ในวงพุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๕ แดไข้ในคราวเหตุเนื้อหา ของคัมภีร์ สนับสนุนว่าน่าจะถูกเรียบเรียงขึ้นในวงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยเทคนิคการ ทำสมาธิอย่าง และมีรูปแบบถาม-ตอบระหว่างผู้สนับสนุนกับผู้เรียน ด้วยเหตุนี้จึงวิจาร การ ผู้เขียนชาญด้านสนิมในจีนยุคต้น เช่น ศาสตราจารย์ยามาเบะ โนบุโยชิ จากประเทศญี่ปุ่น และผู้ช่วยศาสตราจารย์อิริกิ กริน แห่งมหาวิทยาลัยเยล จึงลงความเห็นว่า คัมภีร์นี้จัดเป็น “คู่มือภาวปฏิบัติสมาธิ” ซึ่งกล่าวถึงเทคนิคการทำสมาธิ ๙ วิธี โดยเนื้อหาเหล่านี้คัดลอกมาจากคัมภีร์สมาธิอื่น ๆ ที่เคยแพร่หลายมาก่อนหน้านี้ โดยเฉพาะเทคนิคที่นำมาจากคัมภีร์อู่เหิ้นฉาน (五門禪) นั้น สามารถสืบย้อนสาย การปฏิบัติของ พระอุปคุดมาหยอด แล้วปราบพบจรัญในยุคพระเจ้าโจคมหาราช โดยหนึ่งในวิธีปฏิบัติที่มี คามโดดเด่นในคัมภีร์นี้ คือ การทำสมาธิที่สอนให้ผู้ปฏิบัติงานใจไว้อย่างนาวนาติ (ท่อง) เมื่อใจ หยุดนิ่งประตากับวัดก็จะเข้าถึงประสบการณ์ ภายใน คือ เหน่ององค์พระพูดช้อนออกมา จากกลางนาฬิกาของผู้ปฏิบัติ โดยองค์พระที่ ผุดช้อนออกมานี้คือพระธรรมกายนันเอง ในงานวิจัยของศาสตราจารย์ยามาเบะระบุว่า มสามารถบโรรภนในคัมภีร์อู่เหิ้นฉาน เป็น หนึ่งในวิธีปฏิบัติที่เคยแพร่หลายในประเทศไทยกลางมาก่อน ต่อมาได้สูญหายไป การค้นพบ วิธีปฏิบัติธรรมแบบโบราณนี้ นอกจากเป็น ที่น่าตื่นตาตื่นใจแก่ นักวิจัยด้านจีนผูตรวจ ผลงานวิจัยแล้ว ยิ่งสร้างความประทับใจ แก่นักวิชาการด้านจีนวิทยาของมหาวิทยาลัย เคมบริดจ์อีกด้ ยิ่งต่างชื่นชมว่าเป็น งานวิจัยยอดเยี่ยม สมควรได้รับคะแนน ระดับเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง (Distinction) ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าภาคภูมิใจอย่างยิ่งดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
(อ่านต่อฉบับหน้า)
อาคารสถาบันวิจัยนานาชาติ จติธรรมชัย (DIRI) เมืองดันดินนิวส์แลนด์
พฤศจิกายน ๒๕๖๖ อยู่ในบุญ