การกำหนดนิมิตและการฝึกใจ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มิถุนายน พ.ศ.2564 หน้า 19
หน้าที่ 19 / 70

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการกำหนดนิมิตซึ่งเป็นแนวทางในการฝึกใจให้เข้ามาตั้งมั่นภายในง่ายขึ้น โดยเริ่มจากการกำหนดลมหายใจและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เพื่อเพิ่มความสงบและความสุขภายใน การลดการใช้พลังงานและการหายใจให้มีสติจะนำสู่ความสงบที่ลึกซึ้งและช่วยให้เห็นภายในใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-การกำหนดนิมิต
-การฝึกจิต
-สมาธิ
-ความสงบภายใน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การกำหนดนิมิตจึงเป็นกุศโลบาย ต่อใจให้เข้ามาตั้งมั่นภายในง่ายขึ้น หยาบงเป็นเงา ๆ บางงงครั้ง เริ่มละอ้อมใจเข้ามาแล้ว เพราะเอาใจไปผูกไว้กับวัตถุที่พอ จะกำหนดได้ง่าย หรือกำหนดท้องผ่อง ท้องยูง เมื่ออาการพองอากายุนำกำหนดได้ แสดงว่าใจเข้าไปอยู่ในตัว บ่อยเข้า การพองอากายุนำกำหนดได้เบา เบา ได้ยิ่งขึ้น ในที่สุดเลยอยู่ในศูนย์กลางโดยอัตโนมัติ เพราะฉะนั้น จะกำหนดดึงดวง จะกำหนดดวงแก้ว จะกำหนดท้องผ่อง ท้องยูง หรือจะ กำหนดลมมหายใจเข้าออก ทั้งหมดนั้นเป็นเพียง กุศโลบายที่จะเอาใจเข้ามาเก็บข้างใน เพราะ ผู้ฝึกยังมองไม่เห็นใจตนเอง การกำหนดนิมิตจึงเป็นกุศโลบายต่อใจให้เข้ามาตั้งมั่น ภายในง่ายขึ้น เมื่อใจเข้าไปอยู่ในตัวดีแล้วก็หยุด และจะหยุดกำหนนิรมิตองค์พระ ดวงแก้ว ลมหายใจ พองหนอ ยุบหนอ ไปโดยอัตโนมัติ เป็นความหยุด เป็นความนิ่ง เป็นความใส เป็นความว่างอยู่ข้างใน การฝึกมิติ หรือลกระบวนการฝึกใจ จึงเริ่มตั้งแต่การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ส่วนอ่อนไหว ที่สุด คือ เปลือกตา กล้ามเนื้องอ ตา และเมื่อกำหนดนิมิตเบา ๆ แล้ว การใช้พลังงานลดลง อัตราการเผาลงพลังงานก็ลดลง ออกซิเจนก็ลดลง อัตราการหายใจเข้าออกลดลง ร่างกาย ก็ผ่อนคลาย หรือว่าคลายเครียด จิตใจผ่อนคลายตามไปด้วย เพราะฉะนั้นความสุขก็เกิด ความสุขภายในก็มา ความสงบภายในก็มา เสร็จแล้วก็เข้าสู่กุศโลบายที่ 2 คือพลังงาน ลดลงเป็นรอบที่ 2 เผผลาญพลังงานลดลงเป็นรอบที่ 2 ใช้ออกซิเจนลดลงเป็นรอบที่ 2 อัตราการหายใจลดลงเป็นรอบที่ 2 ร่างกายยิ่งผ่อนคลาย จิตใจยิ่งผ่อนคลาย ความสุข ก็เพิ่มขึ้นมา ความสงบก็เพิ่มขึ้นมา ความสงบภายในก็เพิ่มขึ้นมา จากนั้นการใช้พลังงาน ก็ลดลงไปอีกในรอบที่ 3 การเผาผลาญพลังงานก็ลดลงไปอีก ออกซิเจนลดลง หายใจลง ร่างกายยิ่ง ผ่อนคลาย แล้วก็ยิ่งสุข ยิ่งสงบยิ่งสงบยิ่งในที่สุดจากความสงบเหล่านี้ทำให้ เห็นภายใน แล้วทำให้เกิดการบรรจบรวมกัน โดยเนื้อแท้ก็อยู่เองนี้ หลักการมีอยู่ดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More