ข้อความต้นฉบับในหน้า
คำถาม: หลวงพ่อครับ เวลานั่งสมาธิแล้วก็มีพระ
คอยพูดสั่งสอนไปด้วยตามพระวินัยเล่ม ๓ นักธรรม
เอก บอกว่ากรรมมัฏฐาน ๒ ข้อ คือ ๑. สมถกรรม
มัฏฐาน ๒. วิปัสสนากรรมมัฏฐาน ต้องใช้สถานที่
ซึ่งเงียบสงัด สงบ เพื่อจะให้ถึงซึ่งพระนิพพาน การที่
มีซึ่งเงียบสงัด
สงบ เพื่อจะให้ถึงซึ่งพระนิพพาน
การที่มีพระคอยพูดสั่งสอน จะเงียบสงัดได้อย่างไร
ล่ะครับ ?
คำตอบ: เวลาฝึกสมาธิ พวกเราที่วัดพระธรรมกาย
เคยทำมาแล้ว แบบต่างคนต่างนั่งเงียบไม่พูดไม่จา
ใครจะเป็นใครจะตายไม่รับรู้ แต่อย่างไรก็ตามขอ
ให้ได้รู้ไว้อย่างหนึ่งว่า ผู้ที่เข้าถึงธรรมกายนั้นเมื่อ
ฝึกได้ถูกส่วนใจจรดเข้าศูนย์กลางกายได้แล้ว เพียง
แตกต่างกันครับ ?
คำตอบ: คืออย่างนี้ จะไม่ขอใช้คำว่าใครมีบุญเก่า
บุญใหม่มากกว่ากัน แต่จะใช้คำว่า ใครที่ปกติ เป็น
คนไม่เจ้าอารมณ์ เป็นคนที่ไม่เอาแต่ใจตัวเอง ไม่
ทำตามแต่ใจอยาก เป็นคนมีเหตุผล คนประเภทนี้
เมื่อถึงเวลาทำสมาธิ จะประคองใจให้หยุดให้นิ่งได้
ง่าย
แต่กล่าวนำในการทำสมาธิไม่กี่ประโยค ก็สามารถ
น้อมใจผู้ที่นั่งสมาธิอยู่ด้วยให้ปล่อยใจตาม แล้วตก
ศูนย์กลางกายเป็นสมาธิได้ง่าย
คนส่วนมากมักเข้าใจกันว่า ผู้ที่นั่งสมาธิจะ
ต้องนั่งหลับตานิ่งใครมากระทบตัวสักนิดก็ไม่ได้ มี
เสียงรบกวนก็ไม่ได้ ขอบอกว่าไม่ต้องถึงขนาดนั้น
หรอก ความจริงไม่ว่าจะอยู่ในท่านั่ง นอน ยืน เดิน
เราก็ทำสมาธิได้ มีเสียงรบกวนก็ทำได้ บางครั้งการ
นั่งสมาธิที่มีท่านที่ทำสมาธิได้แล้วเป็นผู้กล่าวนำ
แล้วเราเอาใจจรดศูนย์กลางกายปล่อยใจไปตาม
เสียงของท่าน เราสามารถเป็นสมาธิได้ดีกว่านั่งคน
เดียวเสียด้วยซ้ำ
ใครที่ชอบอ่านตำรา เคยพบบ้างไหมว่าใน
ระหว่างเวลาที่พระสัมมาสัมพุทะเจ้าเสด็จประกาศ
พระศาสนา ในที่หลายๆ แห่ง มีผู้ทำสมาธิปล่อยใจ
ตามกระแสเสียง ที่ทรงแสดงธรรมลุ่มลึกไปตาม
จนกระทั่งบรรลุธรรมเป็นพระอริยบุคคล
ระดับต่างๆ กันครั้งละเป็นจำนวนไม่น้อย เพราะ
ฉะนั้นเสียงสอนวิธีทำสมาธิ ไม่ได้เป็นอุปสรรคใน
การเข้าถึงธรรมเลย
ลำาดับ
คำถาม: การนั่งสมาธิ เห็นบางคนต้องทนนั่งหลายๆ
ชั่วโมง ใจจึงจะสงบได้ บางคนเดียวก็ได้ ทำไมจึง
C
รายการ วิธีฝึกศาธิเบื้องต้น
ตอน... มรอยพระศาสดา (4 กรกฎาคม 2553)
เมื่อใดที่เราขจัดความเจ้าอารมณ์ออกไปจากใจได้ เมื่อนั้น
ความดีงามต่างๆ ก็จะปรากฏแก่เรา แม้แต่การนั่งสมาธิ
ก็จะประสบผลสําเร็จโดยง่าย
สำหรับท่านที่ประคองใจให้หยุดให้นิ่งไม่
ค่อยจะได้กับเขา ก็รู้ไว้เถอะว่าเราน่ะเจ้าอารมณ์
อย่าสงสัยเลย นะ
ก็เพราะว่าเป็นคนเจ้าอารมณ์เอาแต่ใจตัว
เองนี่แหละ หลวงพ่อจึงต้องใช้วิธีฝึกให้แบบ
ดัดสันดาน แต่ถ้าพูดก่อนหน้านี้ตรงๆ คงไม่ยอมมา
วัดกันหรอก ก็ต้องค่อยๆ ตะล่อม “มานะ มาอยู่
กลด” มาอยู่ทำไม? “มาดัดนิสัยเจ้า อารมณ์”
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านให้ชัดแบบสมัยพ่อขุน
รามคำแหง ก็ต้องพูดว่ามาฝึกหัดดัดสันดานเจ้า
อารมณ์กันไง ที่เรามาปักกลดกันนี่พระก็ปักกลด
เณรก็ปักกลด ญาติโยมก็ปักกลด ให้ปักกลดอยู่
ทําไม?
oo