ข้อความต้นฉบับในหน้า
ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ ฐาน
ฐานที่ ๑ ปากช่องจมูก
(หญิงข้างซ้าย
ชายข้างขวา ๒
9
( ช้างซ้าย
G
ฐานที่ ต เพลาคา
ฐานที่ ๓ จอมประสาท
ฐานที่ 4 ของเพดาน
ขายข้างขวา
ฐานที่ ๕ ปากของสาว
ฐานที่ ๗ ศูนย์กลางกายที่ตั้งจัดถาวร
ฐานที่ ๖ ศูนย์กลางกายระดับสะดือ
J ๒ นิ้วมือ
รู้ทัน วิ บ า ก ก ร ร ม
១៨៩
กลมใสให้ค่อยๆ เคลื่อนเข้าสู่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดยเริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นต้นไป
น้อมนึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไปพร้อมๆ กับคำภาวนา
อนึ่ง เมื่อนิมิตดวงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วางอารมณ์สบายๆ กับ
นิมิตนั้นจนเหมือนกับว่าดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์หากดวงนิมิตนั้นเกิดอันตรธานหายไป
ก็ไม่ต้องนึกเสียดาย ให้วางอารมณ์สบาย แล้วนึกนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อนิมิต
นั้นไปปรากฏที่อื่น ที่มิใช่ศูนย์กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้ามา อย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มี
การบังคับ และเมื่อนิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลางกาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของ
ดวงนิมิต ด้วยความรู้สึกคล้ายมีดวงดาวดวงเล็กๆ อีกดวงหนึ่งซ้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวง
เดิม แล้วสนใจเอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรงกลางนั้นไปเรื่อยๆ ใจจะปรับจนหยุดได้ถูกส่วน เกิด
การตกศูนย์และเกิดดวงสว่างขึ้นมาแทนที่ ดวงนี้เรียกว่า “ดวงธรรม” หรือ “ดวงปฐมมรรค”
อันเป็นประตูเบื้องต้นที่จะเปิดไปสู่หนทางแห่งมรรคผลนิพพาน
www.kalyanamitra.org