กำลังของช้างและม้่าแก้วในตำนานไทย Dhamma TIME เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 หน้า 34
หน้าที่ 34 / 42

สรุปเนื้อหา

ในตำนานไทย ช้างแต่ละตัวถูกกล่าวถึงในแง่ของกำลังที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะช้างแก้วซึ่งมีความสวยงามและเต็มไปด้วยพลัง ขณะที่ช้างตะกูลต่างๆ ถูกเปรียบเทียบกับความแข็งแรงของคนหรือสัตว์อื่นๆ รวมถึงม้่าแก้วที่มีลักษณะสง่างามและร่างกายแข็งแรง พระเจ้าหาสุทธิสัตว์ทรงพบว่า ช้างแก้วมีศิลาภัณฑ์ที่สมบูรณ์ และเมื่อฝึกซ้อมอย่างเหมาะสมก็สามารถนำไปสู่ความสำเร็จ grandeur

หัวข้อประเด็น

-กำลังของช้าง
-ช้างแก้ว
-ม้่าแก้ว
-ตำนานไทย
-ศิลาภัณฑ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กำลังของช้างแต่ละตัวกูลไม่เท่ากัน กำลังแรงมาก ขณะละเอียดอ่อนละมุนละไม เห็นเดินของงู๊ปที่แข็งแรงมากๆ ๑๐ คนกับช้างของช้างภาพกวา ๑ เชือก ช้างภาพกวา ๑ เชือก เท่ากับกำลังตะกูลช้างคือมี ๑ เชือก ช้างกะบำตลกยกัน ๑ เชือก เท่ากับตะกูลง้างเป็นตอนในตอน ๑ เชือกและไล่เรื่อยขึ้นไปเช่นนี้ ๑๐ ต่อ ๑๐ จนครึงถึงช้างตะกูลหมวด ๑๐ เชือก เท่ากับช้างโบสถ์ ๑ เชือก ช้างตะกูลโบสถ์ ๑ เชือก เท่ากับกำลังของช้างจันทร์ ๑ เชือก ช้างแก้วของพระเจ้ากาจักรดีจะมาจากสองตะกูลหลังนี้ และก็มีกำลังมากที่สุดคือตะกูลของพระราชาจันทร์ ทั้งสองตะกูลนี้คือเผาของหัตถีรัตนะ * ช้างแก้วของพระเจ้าหาสุทธิสิลัจจรามจากตะกูลโบสถ์ ตัวขาวปลอดสะอาด สะอาดแท้ลีงเกล้า ศิลาภรณ์สมบูรณ์ทุกอย่าง คอและปากจะสีแดงเหมือนนมเมฆของพระอาทิตย์ รูปร่างงามสมส่วน ผิวดีไม่เหี่ยวย่น มีอัธยาศัยใหญ่สมบุญ ดวงตาก็สิดใสระวังกับตาของเทพบุตร มีฤทธิ์เหาะเหินเดินอากาศได้ พระเจ้าหาสุทธิสัตว์ทะดพระเนตรเห็นช้างแล้ว ทรงพอพระทัยมาก ตั้วว่าช้างนี้เป็นช้างที่มีศิลาภัณฑ์สมบูรณ์มาก ถ้าพึงฝึกให้ดียิ่ง ตอนที่พระองค์สั่งทันที เราจะเห็นว่า ผู้มีบุญพุดสิ่งใด สิ่งนั้นจะสำเร็จสมปรารถนาทันที เมื่อพระองค์จะทอดสอบช้างแก้ว ตอนเช้าก็เสด็จขึ้นนั่งลงเพื่อไปตรวจบ้านเมือง ไปทั่วมหามณฑลจตุรพงษ์ลงมาทั้งจากที่สาวดีราษฎร์บาน มานั่งเฝ้าพระกระอาห์เข้า นี้เป็นอาการของช้างแก้ว ต่อมา อัศวัตรนะบังดินอีก คือ ม้่าแก้ว มัญญาบัญเป็นมณีพิซอภาก รูปร่างอาจสง่างาม ท่วงท่าก็วิ่งน่าชื่นชม ที่ได้อ่าวาว เพราะมีตัวขาวปลอดเหมือนก่อนเมฆสะอาดอร่าง เท้าทั้ง ๕ ข้าง มีขาแข็ง มีร่างกายแข็ง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More