ข้อควรระวังในการฝึกสมาธิ คำไม่เล็กของคุณครูไม่ใหญ่ (มินิ) เล่ม 2 (เกิดมาสร้างบารมี) หน้า 280
หน้าที่ 280 / 288

สรุปเนื้อหา

การฝึกสมาธิเป็นกระบวนการที่ต้องใช้ความตั้งใจและความคิดที่ชัดเจน โดยมีข้อควรระวังที่สำคัญ เช่น หลีกเลี่ยงการใช้กำลังในร่างกาย เช่น การบีบกล้ามเนื้อ และไม่ควรมีความอยากเห็นนิมิต การฝึกสมาธิควรดำเนินไปโดยไม่กังวลเกี่ยวกับการหายใจ การเข้าถึงพระธรรมกายจะเป็นผลตามระยะเวลาโดยไม่จำเป็นต้องเร่งรีบ อยากแนะนำให้ผู้ฝึกมีสติและปล่อยวาง เพื่อให้ผู้ฝึกเข้าถึงประสบการณ์อย่างแท้จริงและเต็มที่เมื่อถึงเวลา การค้นพบดวงนิมิตนั้นเปรียบเสมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ ที่สามารถเกิดขึ้นได้เองเมื่อเวลาเหมาะสม.

หัวข้อประเด็น

-ข้อควรระวังในการฝึกสมาธิ
-การใช้กำลังในร่างกาย
-การมีสติและปล่อยวาง
-ความสำคัญของบทเบื้องต้นในสมาธิ
-ความหมายของการกำหนดลมหายใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อควรระวัง 1. อย่าใช้กำลัง คือ ไม่ใช้กำลังใด ๆ ทั้งสิ้น เช่น ไม่บีบกล้ามเนื้อตา เพื่อให้เห็นนิมิตเร็ว ๆ ไม่เกร็งแขน ไม่เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ไม่เกร็งตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนใดของร่างกายก็จะทำให้จิตเคลื่อนจากศูนย์กลางกายไปสูจุดนั้น 2. อย่าอยากเห็น คือ ทำใจใหเป็นกลาง ประคองสติ มให้ผลออกจากบริกรรมภาวนาและบริกรรมมินิต ส่วนจะเห็นนิมิตเมื่อไห่นั้นอย่ากังวล ถึงเวลาแล้วอิ่มนรเห็นเอง การบังเกิดของดวงนิมิตนั้น อุปมเหมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ เราไม่อาจจะเร่งเวลาได้ 3. อย่ากังวลถึงการกำหนดลมหายใจเข้าออก เพราะการฝึกสมาธิ เพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน องค์การนิภาถึง “อโลกลกสิณ” คือ กสิณความว่าง เป็นบทเบื้องต้น เมื่อฝึกสมาธิจนถึงดวงปฐมมรรครแล้ว ฝึกสมาธิต่อไป ผ่านกายมนุษละเอียดยิบ กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหมจนกระทั่งเข้าถึงพระธรรมกายแล้ว จึงเจริญวิปสนาในกายหลัง ดังนั้น จึงไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดลมหายใจเข้าออกแต่ประการใด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More