ข้อความต้นฉบับในหน้า
กรมทำสงครามและมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ให้สร้างคัมภีร์บทหลายฉบับ ดังรายละเอียดที่นำเสนอในฉบับที่แล้ว (เดือนกันยายน ตอนที่ ๑๖) ส่วนในฉบับเดือนตุลาคมนี้ ผู้เขียนจะแสดงเนื้อถี่คัมภีร์หลวงของรัชกาลที่ ๓ ที่พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างหลายฉบับดังกล่าวข้างต้น และกรณีพิเศษที่พระราชทานแก่พระอาจารมหลง คือง ฉบับเทพนิยมที่พระราชทานไว้ ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราช-วนาภิวารา
ผู้เขียนจะแจ้งกล่าวถึงข้อความที่มีนักวิชาการบันทึกไว้ว่า “การสร้างคัมภีร์มีความถูกต้องและแม่นยำค่อนข้างสูง เพราะมีการตรวจทานกันหลาย ๆ ครั้ง จนสามารถนำไปใช้เป็นต้นฉบับแก้ฉบับอื่น ๆ ได้ และใช้คัดลอกต่อ ๆ กันมา ซึ่งถือเป็นมงคลยิ่งเพราะคัมภีร์ใบบานที่สร้างขึ้นโดยมีพระบรม-ราชโองการของพระมหากษัตริย์เป็นจุดเริ่มต้น จัดว่าเป็นหนึ่งในเอกสารในพระราชนิพนธ์ประเภทใบลานที่เรียกว่า “คัมภีร์หลานฉบับหลวง” ๒
ดังนั้นในปัจจุบันก็มีกระบวนการว่า วรรณกรรมเป็นของใหม่นิำได้ปรากฏหลักฐานมาก่อนนั้น แต่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยสถานี DIRE ได้พบหลักฐานรายละเอียดยอดของธรรมภายในคัมภีร์ใบลานฉบับหลวงตั้งแต่มิยามเนื้อเริ่มต้นการสถาปนากรุงเทพฯ ถึง ๒ รัชกาล ดังตารางข้างต้น ซึ่งนับว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่านาม และเป็นเครื่องยืนยันได้ว่าหลักฐานวรรณกรรมนี้เป็นสิ่งที่มีอยู่จริงมาจั้งแตยุค นั้น" ขณะเดียวกันหลักฐานที่มีอยู่จริงของคัมภีร์เหล่านี้สามารถเชื่อมโยงให้เห็นถึงความสัมพันธ์กับหลักฐานอื่น ๆ เช่น คัมภีร์วรรณกาย อาศรรวมมานา วัดป่าสักน้อย จ.เชียงใหม่และหลักฐานธรรมภายใน คัมภีร์ลุกมูลมูลฐานอันซ้อนซับที่วัดป่าเหมิด จ.น่าน ตลอดจนหลักฐานธรรมภายในเอเชียตะวันออกซึ่งพบในเอกสารคดีบางแห่ง เช่น ใบบาล หนังสือไทย พับถ (ปัสส) หรือในวัตถุดิ่น ๆ เช่น ศิลาจารึก ซึ่งจะเป็นเหตุให้เกิดการอนุรักษ์อย่างยืนยงจนถึงปัจจุบันด้วยระบบการถ่ายไมโครฟิล์ม และพัฒนาต่อเนื่องมาจนถึงการถ่ายด้วยระบบดิจิตัล ซึ่งเป็นวิธีการทำสำเนาหรือ Backup ได้หลาย ๆ ครั้ง ซึ่งสามารถเก็บรักษาไว้ได้ยาวนาน และขยายผลการเผยแพร่ออกกว้างไกล