ข้อความต้นฉบับในหน้า
จากการศึกษาร่วมกับคณะนักวิจัยและนักศึกษาของสถาบันฯ DIR ที่ส่งไปศึกษาด้านวาริโบราณของพระเจ้าโลกมหาราชพบว่า อาริยะมีเป้าหมายในการเป็นกษัตริย์แห่งธรรมจริงดังที่กันวิชาการหลายแขนได้วิเคราะห์ ซึ่งพุทธศาสนิกชนทั่วโลกต่างก็เห็นพ้องว่านพระเจ้าครองมหาราช “พระปิยะสี่สิ้นที่ทรกแห่งทายเทพ” นั้นทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงให้การอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาในยุคของพระองค์ดั่งที่เคยมีราชาแคว้นใดทรงนำมาก่อน แต่ประเด็นนี้เราเห็นนอกเหนือไปจากนั้นก็คือ พระเจ้าโศมมหาราชมิได้ทรงมีจุดมุ่งหมายเพียงแต่การเป็น “กษัตริย์ผู้เป็นที่รักของทายเทพ” และของประชาชนเท่านั้น หากแต่ยังจงมุ่งหวังที่จะเป็น “ผู้ทรงพระเจ้า” ในประวัติศาสต์พระพุทธศาสนาอีกด้วยดังจะเห็นได้จากพระบรมราชโองการบันทึกของพระองค์ ซึ่งมีความตอนหนึ่งว่า...
ศิลาจารึกบันท้อน้อย ตอนที่ ๑ จักรพรรดิ์เหนือพระผู้เป็นทรกแห่งหยี่เทพได้ครองดังนี้
“นั้นเป็นเวลาค่อนสองปรีศรีแล้ว ที่ข้าระ ได้เป็นอุปถัมภ์ แต่ตลอดเวลา ๑ ปี ข้าจะได้ทำความพากเพียรใด ๆ อย่างจริงจังเลยและนับเป็นเวลา ๑ ปีเฉลยที่เข้ามา ได้หาหลง ง ๆ จึงได้ลงมือทำความพากเพียรอย่างจริงจัง...”
จากข้อความข้างต้นแสดงให้เห็นว่าพระเจ้าโศมมหาราชนั่น อาจจะทรงเริ่มศึกษาหลักธรรมและการปฏิบัติในการพพระพุทธศาสนาหรือทรงให้รับคำแนะนำให้ปฏิบัติธรรมมากขึ้นแล้ว แต่ต่อมาทั้งไม่ก้าวหน้า จึงทรงตั้งพระราชทัยที่จะกลำมาทำให้สำเร็จอย่างจริงจังอีกครั้งหนึ่ง ทั้งนี้ก็พิจารณาอย่างถ้วนมากขึ้นแล้ว เราอาจจะอนุมานได้ว่า คำกล่าวนี้น่าจะเกิดขึ้นภายหลังจากการทำสงครามพิษณัศเวนก็คงไม่มากนัก และเป็นช่วงที่กำลังทรงเริ่มศึกษาธรรมในพระพุทธศาสนาในระยะแรก ๆ อย่างไรก็ดี นอกจากนี้