การศึกษาคัมภีร์พระธรรมกายในกัมพูชาและประเทศไทย  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ธันวาคม พ.ศ.2561 หน้า 49
หน้าที่ 49 / 68

สรุปเนื้อหา

การศึกษาเกี่ยวกับคัมภีร์พระธรรมกายในกัมพูชาและประเทศไทยเน้นไปที่การทำพิธีพุทธาภิเษกและความคล้ายคลึงกันของวัฒนธรรมในพิธีนี้ในทั้งสองประเทศ โดยคุณวรวเมธ มาลาศาสตร์เสนอความสำคัญของหลักสูตรการวิจัยและการพัฒนาบุคลากรซึ่งจะส่งผลต่อการเผยแพร่ธรรมะพระพุทธศาสนาและวิชาธรรมกาย สถาบันวิจัยนาชาติตรีธรรมชัยมีความมุ่งมั่นในการสร้างระบบการพัฒนาที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะการพัฒนาเครือข่ายที่สนับสนุนการศึกษาและวิจัยในด้านต่าง ๆ นี้ นับเป็นก้าวสำคัญในวิถีทางการศึกษาและการเผยแพร่ธรรมะอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนในอนาคต.

หัวข้อประเด็น

-การทำพิธีพุทธาภิเษก
-ความสำคัญของคัมภีร์พระธรรมกาย
-การศึกษาการเผยแพร่ธรรมะ
-ความคล้ายคลึงของวัฒนธรรมไทย-เขมร
-การพัฒนาหลักสูตรการวิจัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ในจารีตและในคัมภีร์โบราณสายปฏิบัติของเขมรบางส่วน และในส่วนของเนื้อหาและหลักฐานด้านอักษรศาสตร์ของคัมภีร์ดั้งเดิมนี้มีความสัมพันธ์ของไทยพูดและเบงกุพูดอย่างที่ยาก จะแยกออกจากกันได้ จากนั้น ดร.อภิชาเบือนได้เสนอความคิดเห็นต่าง ๆ ในดูจรรวบรวม body ว่ามี นักวิชาการท่านใดศึกษามาแล้วบ้าง และมีเนื้อหาส่งบทเป็นอย่างไร เป็นต้น คุณวรวเมธ มาลาศาสตร์ ผู้ช่วยวิจัย นำเสนอสหัวข้อ "การทำให้พระพุทธเจ้าถงอยู่" การศึกษาจากคัมภีร์พระธรรมกายในกัมพูชา และประเทศไทย ("Making the Buddha Present" : The Dhamma kaya Text in Cambodia and Northern Thailand) ว่าด้วยการทำพิธีพุทธาภิเษกพระพุทธในประเทศไทยและกัมพูชา โดยคุณวรวเมธได้นำเสนอถึงความคล้ายคลึงกันของวัฒนธรรมในพิธีพุทธาภิเษกของชาวพุทธในทั้งสองประเทศ ซึ่งประเพณีดังกล่าวว่ามีปริศนาพื้นที่สำคัญคือปริศนาพระธรรมกาย ที่เชื่อว่าเมื่อผ่านพิธีพุทธาภิเษกแล้ว พระพุทธรูปนั้นจะมีคุณสมบัติความมีชีวิตและเป็นพระพุทธเจ้าทุกประการ โดยคุณวรวเมธได้ให้รายละเอียดที่สำคัญ ๆ ของพิธีพุทธาภิเษกนั้นไว้อีกและวิเคราะห์ถึงความสำคัญของคัมภีร์พระธรรมกายในพิธีเกรานาในประเทศไทยและกัมพูชา ด้วยความพยายามและการทำงานอย่างตั้งใจของทีมงาน รวมทั้งความสำเร็จของการเปิดอากาศจากนชชาติธรรมชัยที่กล่าวมานี้ แม้จะเป็นเสมือน “การเริ่มต้น” อีกก้าวหนึ่งบนเส้นทางอันยาวไกลของการสืบค้นหลักฐานธรรมกายดตาม แต่กระนั้น ยังก้าวดังกล่าวก็ถูกนับว่าเป็นก้าวที่สำคัญมากที่จะนำไปสู่ความสำเร็จของการสืบค้นหลักฐานธรรมกายอย่างเป็นรูปธรรมยิ่ง ๆ ขึ้นไป ด้วยว่าหลังจากนี้เป็นต้นไป สถาบันวิจัยนาชาติตรีธรรมชัยก็จะได้ก้าวไปสู่การสร้างระบบการพัฒนาหลักสูตรในงานวิจัย การพัฒนาบุคลากรตลอดคนเครือข่ายที่เข้มแข็งในระดับสากลต่อไป ทั้งนี้ การพัฒนาในเรื่องต่าง ๆ เหล่านี้ก็ย่อมส่งผลโดยตรงต่อความก้าวหน้าแก่ภารกิจในการเผยแพร่ธรรมะพระพุทธศาสนา วิชาชีวธรรมกายต่อไปด้วย ซึ่งทางสถาบันยังต้องการความร่วมแรงร่วมใจที่กว้างขวางของลูกศิษย์หลานศิษย์ของพระเดชพระคุณหลวงปู่ พระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) คูผู้ค้นพบวิชาธรรมกายอยู่เสมอ (อ่านต่อฉบับหน้า)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More