สยบคำถามดราม่า: วัดพระธรรมกายและการตั้งชื่อดอกไม้  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ธันวาคม พ.ศ.2561 หน้า 5
หน้าที่ 5 / 68

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้สำรวจความหมายของการตั้งชื่อดอกไม้ที่วัดพระธรรมกาย ซึ่งเชื่อมโยงกับหลักธรรมที่ส่งเสริมให้คนมีทรัพย์ 5 ประการตามหลักศาสนาพุทธ มีการตอบคำถามทั่วไปเกี่ยวกับการปลูกและชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อสะท้อนปรัชญาด้านธรรมะ นอกจากนี้ ยังชี้ให้เห็นว่า ทรัพย์ทั้งภายนอกและภายในคือการมีจริยธรรมและการรักษาศีล 5 ที่สำคัญต่อชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของชื่อดอกไม้
-การตอบคำถามเกี่ยวกับดอกไม้
-การรักษาศีล 5
-หลักธรรมในชีวิตประจำวัน
-การมีทรัพย์ภายในและภายนอก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สยบคำถามดราม่า (Drama) กรณีวัดพระธรรมกายโปรดยดไม้ พอใกล้ช้งธรรมยาตราไร ก็มีคนชุม (Zoom) มาที่วัดพระธรรมกายเป็นกรณีพิเศษทุกครั้ง แถมยิงคำถามเข้ามามากมายว่า..ทำไมต้องตั้งชื่อดอกไม้ใหม่ ? เอาเงินไปทำบุญอย่างอื่นดีกว่าไหม ? พระเหรียญดอกไม้ได้หรือ ? ต้องลงทุนปลูกจริงจังเลยหรือ มันเวอร์ไปไหม ? แต่ไม่เป็นไร..ในเมื่อถามกันเข้ามา เราก็ตอบกันไป โดยไม่ได้หวังจะไปเปลี่ยนความคิดเห็น อะไรใครจริงจัง แต่แค่อยากให้ผู้อ่านได้มุมมองใหม่อีกด้าน ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพราะ เป็นการดีไม่ใช่น้อยเลย ที่เราจะได้รับรู้จากเหตุการณ์ที่ผ่านมา !!! ทำไมถึงมีชื่อดอกไม้ที่เป็นคำเฉพาะ เช่น ดอกเบญจทรัพย์ ดอกทรัพย์บ้านซิ่น ทำไมไม่เรียกแบบที่คนทั่วไปไปเรียกกัน ? ก็คล้ายกับการตั้งชื่อไว้เพื่อเป็นปรัชญา (Dharma Puzzle) ที่แฝงคำสอนที่เป็นธรรม เช่น “ดอกเบญจมาศ” ซึ่งเราจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ดอกเบญจทรัพย์” หมายถึงทรัพย์ ๕ ประการ คือ รูปสมบัติ ทรัพย์สมบัติ คุณสมบัติ ทิพย์สมบัติ นิจพานสมบัติ แต่การที่เราจะมีทรัพย์ทั้ง ๕ ประการนี้ได้น ก็ต้องประพฤติธรรม โดยการรักษาศีล ๕ (เบญจศีล = Five Basic Buddhist Precepts of Moral Practices) และประพฤติดีธรรม ๕ อย่าง ที่เรียกว่า เบญจธรรม (Five Dharma) คือ เมตตา สัมมาอาชัวะ ความสำรวมในกาม สังวาส สติสมบูรณ์ ส่วน “ดอกบานชื่น” ที่เป็นน้ำมาปลูกด้วย เราก็เรียกอีกชื่อนึงว่า “ดอกทรัพย์บ้านชื่น” โดยมีความหมายว่า การที่ชีวิตคนเราจะมีความชื่นบานที่ซึ่งความสุข และประสบความสำเร็จในสิ่งที่ตั้งใจ ก็ต้องมีทรัพย์ทั้งภายนอกและภายใน ซึ่งทรัพย์ภายในนี้ก็คือ “จริยธรร” และการเข้าสังคมธรรม หมกเม็ดเสน่ห์นั้นเอง... ธนาคาร ๒๕๖๒ อยู่ในบุญ ๑๑
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More