ความตายและการสอนตนเอง Dhamma Time เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 หน้า 29
หน้าที่ 29 / 30

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้สอนให้เราเข้าใจถึงความแน่นอนของความตายและการสอนตัวเองเป็นสิ่งสำคัญ กุมาริกามีปัญญาในการตอบคำถามเกี่ยวกับชีวิตและความตาย ทำให้เราเห็นถึงการยอมรับและเจริญมรณานุสสติ ผ่านการเรียนรู้จากตัวเองและการแสดงธรรมของพระบรมศาสดา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่ว่า การสอนตัวเองคือการสร้างบารมีที่ดีที่สุดและสำคัญ เพราะไม่มีใครจะสอนเราได้ดีเท่าตัวเราเอง

หัวข้อประเด็น

-ความตาย
-มรณานุสสติ
-ปัญญา
-การสอนตัวเอง
-การสร้างบารมี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ชีวิตของเราไม่ยั่งยืน ความตายของเราแน่นอน กุมาริกาผู้มีปัญญาลึกซึ้งได้ทูลตอบว่า “หม่อมฉันไม่ทราบว่า ตัวเองเกิดมาจากไหน จึง ตอบว่า ไม่ทราบ” “ดละ พระบรมศาสดาทรงประทานสาธุการว่า กุมาริกาเธอมีปัญญาแก้ปัญหาที่ตถาคต ถามได้ดีแล้ว” ทรงถามข้อต่อไปว่า “เมื่อเราถามว่า “เธอ จะไปไหน?” ทำไมจึงกล่าวว่า ไม่ทราบ” กุมาริกาก็ทูลตามที่เข้าใจว่า “เมื่อหม่อมฉัน ตายจากโลกนี้แล้วไม่ทราบว่า จะไปเกิดที่ไหน” ทรงถามว่า “แล้วเมื่อเราถามว่า “เธอไม่ ทราบหรือ?” ทำไมจึงตอบว่า ทราบ ล่ะ” กุมาริกาทูลตอบว่า “พระเจ้าข้า หม่อมฉัน ทราบว่า ตัวเองต้องตายอย่างแน่นอน จึงตอบว่า ทราบ เจ้าข้า" “แล้วเมื่อตถาคตถามว่า หรือ?” ทำจึงตอบว่า ไม่ทราบ” กุมาริกาก็ทูลตอบว่า DMC www.dmc.tv ชีวิตของเรามีความตายเป็นที่สุด จึงกล่าวธิดาของเราผู้มีปัญญา” แล้วทรงแสดงธรรม เรื่องมรณานุสสติอีก ครั้งหนึ่ง เมื่อสิ้นพระธรรมเทศนา ธิดาช่างหูกก็ได้ บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน เป็นผู้ไม่ตกต่ำในชีวิต อีกต่อไป เห็นพ่อกําลัง แต่... เนื่องจากวิบากกรรมเก่าตามมาทัน เมื่อนางเดินทางกลับไปบ้านแล้ว นอนหลับอยู่ข้างเครื่องทอหูก นางจึงได้ปลุกพ่อให้ ตื่น ฝ่ายพ่อกำลังนอนหลับเพลิน มือจึงไปกระทบ ด้ามฟุ่มเครื่องทอผ้าอย่างแรง นางล้มลงกับพื้น แล้วสิ้นใจ ณ ตรงนั้นเอง เมื่อละโลกแล้วก็ได้ไป บังเกิดในสวรรค์ชั้นดุสิต จากเรื่องนี้จะเห็นได้ว่า..... การรู้จักสอน "เธอย่อมทราบ “หม่อมฉันทราบแต่ ตนเอง เพียงว่าจะต้องตาย แต่ไม่ทราบว่าจะตายเวลาไหน จึงตอบเช่นนั้นพระเจ้าข้า” พระบรมศาสดาทรงชมเชยธิดาช่างหูกใน ความเป็นผู้มีใจจดจ่อต่อการเจริญมรณานุสสติ สามารถตักเตืยนตนเองได้ไม่มัวรอให้คนอื่นมา คอยไซ แล้วตรัสเตือนพุทธบริษัทว่า “พวกท่านไม่ทราบถ้อยคำที่กุมาริกานี้กล่าว เป็นสิ่งที่มีความสำคัญมากของนักสร้าง บารมี เพราะในโลกนี้ ไม่มีใครที่จะสอนตัวเราได้ ดีเท่ากับตัวของเราเอง และเมื่อเราสอนตัวเองได้ ดีแล้ว การที่จะทำหน้าที่สั่งสอนผู้อื่นก็จะสมบรูณ์ ตามมาด้วย แรงบันดาลใจจากพระไตรปิฎก โดยพระมหาเถระ รุ่นปี พ.ศ. 2534 หน้า 159 - 163
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More