ศิลาจารึก Dashe Nawur: การตีความใหม่ของกษัตริย์ Wima Taktu ปีก่อตั้งกนิษกศักราช หน้า 9
หน้าที่ 9 / 19

สรุปเนื้อหา

ศิลาจารึก Dashe Nawur ถูกค้นพบในอัฟกานิสถาน มีข้อความจารึกในอักษร Greek เป็นภาษา Bactria โดยบันทึกเหตุการณ์ในปี 279 ซึ่งเชื่อว่าตรงกับการครองราชย์ของกษัตริย์ Wima Taktu เนื้อหายังอธิบายเกี่ยวกับการตีความใหม่ที่อิงจากการค้นพบกษัตริย์ในเผ่า Greek-Bactria และการเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่สำคัญ เช่น การรบกับราชวงค์ Kushan ซึ่งก่อให้เกิดการตั้งขึ้นของปีคริสต์ศักราชในบริบทนี้ ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถดูได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การค้นพบศิลาจารึก
-ประวัติศาสตร์ของ Bactria
-การตีความของกษัตริย์ Wima Taktu
-ยุค Greek-Bactria
-การเชื่อมโยงกับคริสต์ศักราช

ข้อความต้นฉบับในหน้า

1.5 ศิลาจารึก Dashe Nawur ศิลาจารึกนี้ถูกค้นพบในประเทศอัฟกานิสถาน ข้อความถูกบันทึกด้วย อักษร Greek เป็นภาษา Bactria มีในตอนนั้นก็ไว้ว่า [ปี 279 วันที่ 15 เดือน Gorpaios ราชาแห่งปรวงราชผู้สูงศักดิ์ พระราชา Wima Tak... ผู้ยิ่งใหญ่]16 ในอดีตกักรอจะตีความ [Ooemo] หรือ [Wima] ที่ปรากฏทั้งหมดหมายถึงชื่ิอ Wima Kadphis แต่จากการค้นพบการมีอายุของกษัตริย์ Wima Takku ผู้เป็นโอรสของกษัตริย์ Kujula Kadphis ในที่นี้จึงทำการตีความใหม่เป็นกษัตริย์ Wima Taktu แทน ข้อความจารึกนี้ตีความได้ว่าในปี 279 เป็นช่วงครองราชย์ของกษัตริย์ Wima Taktu แต่เนื่องจากปีบันทึก [279] ที่จารึกนี้ไม่ได้ระบุว่านับจากปีคริสต์ จึงต้องศึกษาต่อว่า ศิลาจารึกนี้น่าจะใช้คริสต์ศักราชในกรณีปี ซึ่งนอกจากศิลาจารึกนี้แล้ว ยังมีศิลาจารึกอีก 2 ชิ้นในยุคของกษัตริย์ Wima Kadphis ที่บันทึกปี [284/7] และปี [299] โดยไม่ได้ระบุปีคริสต์ที่ใช้ จากการค้นคว้าว่า ปีคริสต์ที่เกี่ยวข้องกับเชือสาย Greek-Bactria ที่มีความสอดคล้องเกี่ยวเนื่องตรงกับช่วงเวลาของยุคนี้ คืิอ ปีคริสต์ Eucratide17 ซึ่งถูกก่อตั้งในปัจจุบัน ค.ศ. 166 โดยกษัตริย์ Eucratide แห่งชนเผ่า Greek-Bactria18 16 [279, 15th Gorpaios, King of King, the noble, great Ooemo Tak...o,...] Harmatta (1994: 422-424); Cribbs (1999: 182-183); Fussman (1974: 22 p.LXX II) 17 ปีคราว Eucratide ได้ถูกตั้งโดยกษัตริย์ Eucratide แห่งชนเผ่า Greek-Bactria ในปัจจุบัน ค.ศ. 166 (Harmatta 1994: 422-424) ชนเผ่า Greek-Bactria นี้สืบเชื่อสายต่อเนื่องมาจากพระเจ้าลิซานเดอร์มหาราช โดยผู้สืบเชื่อสายได้ครองครองอินเดียเป็นระยะเวลายาวนาน ซึ่งภายหลังได้ถูกล้มลงโดยราชวงค์ Kushan ในยุคของกษัตริย์องค์สุดท้ายชื่อ Hermaios (ต่อหน้าก็ได้ไป)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More