การเข้าสู่ธรรมกายและการหยุดนิ่ง Dhamma TIME เดือนมิถุนายน พ.ศ.2557 หน้า 43
หน้าที่ 43 / 44

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้พูดถึงการเข้าสู่ธรรมกายผ่านการหยุดนิ่งที่ละเอียด พูดถึงการพัฒนาและขยายดวงสว่างภายในเมื่อใจอยู่ในสภาวะที่สงบและมั่นคง อธิบายถึงขั้นตอนและประสบการณ์ภายในที่สำคัญในการปฏิบัติธรรมกาย และการที่จะได้รับความสุขอย่างเต็มเปี่ยมเมื่อเข้าสู่ธรรมกาย นอกจากนี้ยังกล่าวถึงภัยพิบัติภายในที่เกิดจากการกำจัดอารมณ์ที่ก่อสร้างการปฏิบัติธรรมอย่างแท้จริง และเน้นให้ผู้ปฏิบัติศึกษาธรรมดาอย่างจริงจัง

หัวข้อประเด็น

-ฐานที่ 6
-ฐานที่ 7
-การหยุดนิ่ง
-ดวงธรรม
-การปฏิบัติธรรม
-ประสบการณ์ภายใน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

จนถึงธรรมกายได้เช่นเดียวกัน ฐานที่ 6 อย่าลงท้อง ในระดับเดียวกันสะอาด ให้ ดวงสว่างเคลื่อนเข้าไปเรื่อยๆ อย่างนี้ แล้วค่อยๆ ประคองนำมังนำไว้ตรงฐานะ 7 เหนือสะอคือชั้น มงคลนี้ ฐานที่ 7 นี้เป็นตำแหน่งเดียว เป็นที่ตั้งเดียวที่จะให้เราเข้าสู่ธรรมกาย เมื่อใจหยุดนิ่งถูกส่วน ดวงสว่างนั้นจะขยายออก แล้วดวงใหม่จะผุดขึ้นชึ้นมาแทนที่ ใกล้กว่าเดิม สว่างกว่าเดิม เพียงแต่ใจนิ่ง ๆ อย่างเบาสบาย ไม่อารมณ์ลื่น ไม่อารมณ์ดึงดูดนิ่งๆ รายกับประสบการณ์ภายในมากเกินไป ทำใจเป็นกลางๆ ดวงธรรมกายในก็จะผุดซ้อนชั้นขึ้นมา ตามความละเอียของใจ เห็นเป็นดวงศิ ล ดวงสมาธิ ดวงปัญญา ดวงวิญญต ดวงวิญญตฺ ยาณฑ์สุดจะสุดกลางดวงวิญญตฺญาณฑ์สุด จะเห็นกายมนุษย์ละเอียด ช้อนอยู่ภายในหยุดนิ่งต่อไป จะพบย่าง ๆ ที่ละเอียด ช้อนกันอยู่ภายใน คือกายทิพย์ลาย ทายพย์ละเอียด กายูปพรหมหยาบ กายูปพราหมณ์หยาบ กายูปพรหมหยาบละเอียด เมื่ อใจหยุดนิ่งแน่นๆ เป็นก็จะถึงพระธรรมกาย มีลักษณะเป็นกายแก้ว เกดดอุดบุตม์ "เกินใจ สวยเกินสวย งานไม่มีที่ดี เป็นกายที่พ้นจาก ไตรลักษณ์ เป็นธรรมชั้น4 บริสุทธิ์ล้วนๆ คงที่ ไม่มีการ เปลี่ยนแปลง ผู้ที่เข้าสู่แล้ว จึงมั่นแต่ความสุข ชื่อว่า ได้เข้าสู่ความเต็มเปี่ยมของชีวิตแล้ว เพราะฉะนั้น ให้ทุกๆ ท่านตั้งใจปฏิบัติ นพิสูจน์ให้เห็นด้วยตัวของเราเอง แล้วเราจะหาย สงสัย จะเกิดความมั่นใจ แล้วอยากศึกษาธรรมกายที่ละเอียดลึกซึ้งยิ่งๆ ขึ้นไปอีก พระธรรมเทศนาโดย: พระเทพญาณมหามุนี นามเดิม พระราชภาววิมุติ (ไชยบูลย์ ธมฺมชีโน) *มก. เล่ม ๑๙ หน้า ๕๖๕
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More