วิธีเข้าถึงธรรมกาย Dhamma TIME เดือนมิถุนายน พ.ศ.2557 หน้า 42
หน้าที่ 42 / 44

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้นำเสนอ 33 วิธีปฏิบัติที่มีมาตามแนวทางของวิถีธัมมคราม เพื่อการเข้าถึงธรรมกาย โดยไม่ว่าผู้อ่านจะเลือกวิธีใดก็ตาม หากปฏิบัติถูกต้องตามสติปัฏฐาน 4 จะนำไปสู่การเข้าถึงธรรมกายได้ทุกคน 33 วิธีเหล่านี้ได้แก่ กลืน 10, อุทก 10, อนุสติ 10, อัปปมัญญา 4 และจตุถวัฏฐาน เพื่อเป็นเครื่องมือให้ผู้ปฏิบัติสามารถสัมผัสถึงดวงสว่างในตัวเอง ผ่านการกำหนดอารมณ์ต่างๆ เช่น น้ำ ลม หรืออสุภะ รวมถึงการน้อมจิตไปยังลมหายใจเพื่อสร้างสภาวะจิตที่นิ่งและสงบ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการเข้าถึงธรรมกายภายใน.

หัวข้อประเด็น

-ธรรมกาย
-สติปัฏฐาน 4
-ปฏิบัติธรรม
-อานาปานสติ
-วิธีการต่างๆ ที่เข้าถึงธรรมกาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นั่น มีอยู่หลายวิธี แต่ที่มีบันทึกไว้ในวิถีธัมมคราม อยู่ ๓๓ วิธีด้วยกัน ทุกวิธีล้วนเป็นไปเพื่อให้ข้ามธรรมกายทั้งนั้น ถ้าหากปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลัก สติปัฏฐาน ๔ ที่พระบรมศาสดาตรัสประทานไว้ ไม่ว่าจะเริ่มต้นด้วยวิธีไหน แต่สุดท้ายจะเข้าถึงธรรมกายเหมือนกันหมด ๓๓ วิธีนี้คือ กลืน ๑๐ อุทก ๑๐ อนุสติ ๑๐ อัปปมัญญา ๔ รูป ๔ อา-หารปฏิภาคสัญญา และจตุถวัฏฐาน ซึ่งถ้เริ่มจากกลืน ๑๐ สมมุติว่านำกำหนดกลืนธารน้ำเป็นอารมณ์ พอใจหยุดถูกส่วน ภาพน้ำนัน ก็หายไป แล้วเกิดเป็นดวงสว่างขึ้นมาทันที หากเราน้อมดวงสว่าง มาตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ ได้ ก็จะเป็นดวงปรมรรฎ เป็นหนหนาบ่อเนื้องต้นที่จะเข้าสู่ธรรมกายภายใน ส่วนท่าจะกำหนดเวลา กลืนอื่นเป็นอารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นดิน น้ำ ลม ไฟ อากาศ ฤดูร้อนอะไรต่างแต่ พอใจหยุดถูกส่วนจะเห็นเป็นดวงสว่างเหมือนกันหมด นี้นี่ ถ้าหากเริ่มต้นจากอสุภะ เพ่งพิจารณาชาตาภพไป จะด้วยวิธีการใดก็ตาม เพ่งเลยๆ หรือแยกแยะเป็นส่วนๆ หรือลงตื่นตมปัญญา ความรู้จากการรับตำรามพิจารณา จะให้เห็นเป็นนิ่งจังทุกชั่ง อนัตตา หรือเป็นปฏิรูปอะไรก็แล้วแต่ เมื่อใจหยุดนิ่งสนิทมากเข้า ภาพอสุภะที่รู้ว่าทำไม่งามน่ะเหม็น จะ실เป็นแก้ว แล้วเปลี่ยนเป็นดวงสว่างไปเอง ถ้าน้อมเอาเข้ามาไว้ตรงฐานะที่ ๗ ก็เป็นรูปมรรฎ ซึ่งเป็นหนทางเบื้องต้นที่จะเข้าสู่ธรรมกายเช่นกัน หากถามเริ่มจากกำหนดลมหายใจเข้าออก ที่เรียกว่าอานาปานสติ หมายถึงการใช้จิตน้อมหายใจเข้าออกเพียงอย่างเดียว ถ้าสติไม่มีพกกับลมหายใจได้จริงๆ จะมีกามรู้สึกว่า ลมมันจึงเหม็นไม่ได้หายใจ พอลมหายใจ "ก็หยุด" หายใจหยุด ดวงธรรมก็ดีเป็นดวงสว่าง ไสเป็นแก้วทีเดียว อย่างเล็กน้อยดวงดาวในอากาศ อย่างกลางๆ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More