ธรรมะเพื่อประชาชน - ความเมตตาสูงของพระพุทธศาสนา Dhamma TIME เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2559 หน้า 16
หน้าที่ 16 / 45

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความสำคัญของธรรมะในชีวิตประจำวันและบทบาทของความเมตตาที่พระพุทธศาสนาสอน เพื่อช่วยมนุษย์ให้พ้นจากการเป็นบ่าวของกิเลสและอาสวะที่ก่อให้เกิดทุกข์ เช่น การมีชีวิตอยู่ ทรมานจากความแก่และความตาย โดยเน้นว่าศัตรูที่แท้จริงไม่ได้อยู่ภายนอก แต่คือกิเลสในใจมนุษย์ การประพฤติปฏิบัติตามคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและการรักษาศีลให้บริสุทธิ์นั้นเป็นหนทางในการเจริญสมาธิและการเข้าถึงพระนิพพาน เพื่อหลุดพ้นจากโลกนี้อย่างแท้จริง

หัวข้อประเด็น

-ความเมตตาในพระพุทธศาสนา
-กิเลสและอาสวะ
-การรักษาศีลและวินัย
-การเจริญสมาธิและการเข้าถึงนิพพาน
-ปฏิปทาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมะเพื่อประชาชน ความเมตตาสูงของพระพุทธศาสนา ทุกวันนี้มนุษย์ตกเป็นบ่าวของกิเลส อาสวะ คือ โลกะ โสคะ โมหะ ทำให้เกิดความทุกข์ ทรมาน มีเกิด มีแก่ มีเจ็บ ตาย และมีการสูญเสีย เกิดขึ้นมากมาย แม้กระทั่งสงครามที่เกิดขึ้นทุก วันนี้ล้วนเกิดจากกิเลส ตะกูลใหญ่ คือ โลภะ โทสะ โมหะ ที่เข้าไปบังบังบัญชา ในจิตใจของ มนุษย์ บังคับให้คิดให้ดูให้ทำ ลำพังกันเอง มนุษย์ซึ่งเป็นเครื่องญาณกันจิ้งหัน กันเอง รบรามฟันกันเอง ไม่ได้บีกับศัตรูเท่านั้น แต่ยัง ผู้ธรรมจักษ์ มีสตนะ ท่านว่าศัตรูที่แท้ จริงนั้นไม่ใช่มนุษย์ แต่คือกิเลส ซึ่งเป็นศัตรูที่เก รียงไกร เป็นคู่ต่อสู้ที่น่ากลัวที่สุด จะเอาชนะได้ ต้องอาศัยใจหยุดใจงดงามอย่างเดียว ใจหยุดจึงจะ หยุดพันจากอาสวะกิเลส และจากการเป็นบ่าวเป็นทาสของ พญามาร * มีวาระพระบรมสารีริกธาตุใน องค์หินสูตร ว่า "สันติ ปติภูโต กิญฺญุ อินทร์ญฺญูเสต จ สุโต โสมนุ่ง จ มุตฺตปญฺโญ ชาติ ปริโยบาย อนุญฺฺญาติ เอวํ วิรามดํป โภคะ ดํป ตนฏิ โส อโหสิ มตนา โค ภวํ กุสโล สมํ โอคฺค เฉมฺสสุ ปติญฺญา อุปไมย มธุรติ ภูผู สฤตา สุติเท พระนิพนธ์พานาเดียว" การจะบรรลุจุดหมายสูงสุดของชีวิต คือพระ- นิพพาน อันเป็นแดนเกษมจากโยคะ คืออโลเลสเครื่อง ร้อยรัดทั้งหลาย จําเป็นต้องดำเนินตามปฏิปทา ที่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและผู้ในกลาลก่อนให้ไว้ จํา เป็นแบบอย่าง ท่านสอนไว้ว่า ภิกษุ หรือผู้ถือศีลใน สงสารวัฏ จำเป็นต้องชําระศีลของตน ให้สะอาด บริสุทธิ์ อย่าให้ด่างพร้อย อย่าให้ดํา หรือว่ะลา เพราะศีลที่บริสุทธิ์เป็นพื้นฐานที่จะทำให้การเจริญ สมาธิภาวนาก้าวหน้า ขึ้นไป ถ้าหากรักษาศีลซึ่ง เป็นส่วนหยาบ คือร่างกาย และวาจาให้บริสุทธิ์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More