ความรู้รอบตัว หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ ตอนที่ ๑๐ Dhamma TIME เดือนตุลาคม พ.ศ.2559 หน้า 25
หน้าที่ 25 / 42

สรุปเนื้อหา

ในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผู้เขียนและคณะเข้าร่วมสัมมนาเสนอผลงานวิจายนานาชาติ ครั้งที่ ๗ หัวข้อภูมิวาศาสตร์ วัฒนธรรมพุทธศาสนา ณ วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มีนักวิชาการกว่า ๑๕ ประเทศเข้าร่วม โดยได้รับฟังการนำเสนอที่น่าสนใจจากเอกอัครราชทูตบังกลาเทศและนักวิชาการอื่นๆ ที่นำเสนอข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีในบังกลาเทศ ข้อมูลที่เสนอเป็นส่วนหนึ่งจากความร่วมมือภายใต้ MOU ระหว่างสถาบันวิจัยนานาชาติและวิทยาลัยสงฆ์นครน่านเริ่มตั้งแต่ปี ๒๕๕๗ ซึ่งช่วยเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการเผยแพร่พระพุทธศาสนาและแหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ในอนาคต โดยจะมีการเสนอผลงานที่เกิดจากความร่วมมือของทั้งสองฝ่ายต่อไป

หัวข้อประเด็น

-การสัมมนานานาชาติ
-ภูมิวาศาสตร์
-วัฒนธรรมพุทธศาสนา
-แหล่งโบราณคดีในบังกลาเทศ
-ความร่วมมือภายใต้ MOU

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ความรู้รอบตัว หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐) Dhamma TIME ๒๕๕๙ : 2559 ความรู้รอบตัว หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐) ช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผมและคณะได้ร่วมกิจกรรมงานสัมมนาเสนอผลงานวิจายนานาชาติ ครั้งที่ ๗ ในหัวข้อ "ภูมิวาศาสตร์ วัฒนธรรมพะพระพุทธศาสนา" ณ วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่มพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วัดพระธาตุแช่แห้ง พระอารามหลวงอำเภอเพียง จังหวัดน่าน ซึ่งมีนักวิชาการทั้งในและต่างประเทศกว่า ๑๕ ประเทศร่วมเสนอผลงานวิจัย บทความ และมีการบรรยายพิเศษน่สนใจ โดยเอกอัครราชทูตบังกลาเทศประจำประเทศไทย Her Excellency Ms. Saida Muna Tasneem นำเสนอในหัวข้อ “แหล่งโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาในบังกลาเทศ” และมีการบรรยายที่น่าสนใจจากนักวิชาการอีกหลาย ๆ ท่าน ซึ่งทำให้เราได้รับทราบอย่างชัดเจนว่าประเทศบังกลาเทศมีแหล่งข้อมูลปฐมภูมิที่ย้อนกลับไปยังตรวจสอบที่ ๓ อีกด้วย การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติมีส่วนร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านเฉลิมพระเกียรติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลายโครงการแต่เนื่องจากผู้เขียนนำ เสนอบทความเส้นทางเผยแพร่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอข้อมูลต่อจากบทที่แล้ว ดังนี้ การเผยแพร่พระพุทธศาสนาสู่มุขพระ-ตร์วรรคที่ ๗-๘ นั้น ศาสนสำคัญของชาว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More