อานิสงส์: อาสรม ๕ และทางสู่โมกษะ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2561 หน้า 62
หน้าที่ 62 / 69

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับอาสรม ๕ ซึ่งประกอบด้วย พระมงครี, คฤหัสฺฤ, วานปรสัตฺถา, และสมัยนาสิ โดยแสดงถึงลำดับขั้นในการดำเนินชีวิต ตั้งแต่การเรียนรู้ ไปจนถึงการบรรลุเป้าหมายสูงสุดของชีวิตคือโมกษะ พร้อมกับส่วนสำคัญในแนวคิดเกี่ยวกับการเวียนว่ายตายเกิดและการบรรลุพระหนุนในยุคต่างๆ ที่มีกระแสแนวคิดเกี่ยวกับการหลุดพ้นยังคงมีต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเสนฺนา (samaṇa) ที่ปฏิรูปพระเวทอย่างสิ้นเชิง โดยที่อาจใช้การบำเพ็ญเพียรเพื่อสุขในโลกและการเข้าถึงโมกษะเป็นเป้าหมายหลัก

หัวข้อประเด็น

-อาสรม ๕
-พระพุทธศาสนา
-โมกษะ
-วิถีชีวิต
-การปฏิรูปพระเวท

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อานิสงส์ อ่านอดีต ชี้อนาคต เรื่อง: พระมหาพงศ์ศักดิ์ จันโอโย, ดร. ย้อนอดีต...ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ตอนที่ ๕: อาสรม ๕ (āsrama) อันประกอบด้วย ๑. พระมงครี (brahmacārin) เป็นวัยที่ต้องศึกษาเล่าเรียน โดยจะเริ่มต้นที่พี่ฝากตัว เป็นศิษย์กับอาจารย์ และจะต้องให้ความเคารพต่ออาจารย์ ศึกษาศิลปวิทยากับผู้เป็นอาจารย์ ๒. คฤหัสฺฤ (grhastha) เป็นวัยของผู้ครองเรือน แสวงหาความสุขทางโลก และประกอบอาชีพให้ฐานะมั่นคง ๓. วานปรสัตฺถา (vanaprastha) เป็นวัยของผู้แสวงหาความสุขสงบ ปลีกวิเวกอยู่ในป่าเพื่อบำเพ็ญเพียรรจ์ทางจิต มุ่งบำเพ็ญเพื่อสัมปรายภพ ๔. สมัยนาสิ (sannyāsin) เป็นวัยของผู้สละเรือน บุตรและภรรยา ออกบำเพ็ญเพียรอยู่ในป่าสิ้นอายุขัย เพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุดของชีวิต คือ เนกขะ (mukśa) จะเห็นได้ว่า “อาสรม ๕” เป็นลำดับขั้นในการดำเนินชีวิตตั้งแต่เด็ดยจนเลี้ยงวาระสุดท้ายของชีวิต ซึ่งมีคำกล่าวมาตั้งแต่ “ยุคพระเวท” แต่เป็นที่น่าเสียดายว่า “อาสรม ๕” นี้ก็สามารถไม่ได้ถูกให้ความสำคัญเท่าที่ควร เพราะในยุคทั้งสองนั้น ยังคงให้ความสำคัญกับการบูชายัญเพื่อเชนสรงเทพเจ้าต่าง ๆ แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อมาถึงใน “ยุครุ่งเรือง” ได้มีแนวคิดในเรื่อง “พระมหา-อามัน” ขึ้น เพื่อตอบปัญหาเรื่องการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏและความหลุดพ้น ที่เรียกว่า “โมกษะ” โดยหลักปฏิทิน “อาสรม ๕” โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงของ “สันนาสี” ขึ้นมา เพื่อปะโจทย์ผู้สงสัยในเรื่องการบรรลุ “โมกษะ” ที่ว่า การบำบเพียนนั้นเป็นไปเพื่อประโยชน์ในโลกหนา แต่มิอาจเป็นไปเพื่อการบรรลุ “โมกษะ” เข้าถึง “พระหนุน” ได้ เป็นการเสริมเติมในเรื่องบำเพ็ญเพียพียตามจิตด้วยอารมณ์ละเลยอนอยู่ป่าในช่วง “สันนาสี” ขึ้นมาโดยไม่ติดต่อแนวคิดใน “ยุคพระเวท” และ “ยุคพราหมณะ” อย่างไรก็ตาม กระแสแนวคิดเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้นของผู้คนในยุคนั้นยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดของกลุ่มที่ปฏิรูปพระเวทอย่างสิ้นเชิง ซึ่งเรียกตนเองว่า “สนฺนะ” (samaṇa) นั่นเอง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More