ย้อนอดีตประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ตอนที่ 9  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2561 หน้า 63
หน้าที่ 63 / 69

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับความคิดของกลุ่มสมณะและพราหมณ์ในพระพุทธศาสนา โดยแยกกลุ่มสมณะเป็น 2 ประเภท มีการพูดถึงวิธีการและแนวทางการปฏิบัติที่แตกต่าง ซึ่งทำให้เห็นถึงการพัฒนาความคิดในช่วงเวลานั้น รวมทั้งการแยกแยะของศาสนาต่างๆ ที่ส่งผลต่อพระพุทธศาสนาอย่างมีนัยสำคัญ เนื้อหาจะกล่าวถึงการใช้ธรรมะจากความคิดและการฝึกจิตเป็นแนวทางหลักในการแสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์และกิเลส

หัวข้อประเด็น

-ความคิดของพราหมณ์
-กลุ่มสมณะ
-การปฏิบัติและแนวทางในพระพุทธศาสนา
-ความแตกต่างระหว่างสมณะและพราหมณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ย้อนอดีต...ท่านประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ตอนที่ ๙ ภาพ : พ.ณัฐวัฒน์ ณภัทรโต หลวงพี่เปรม สมณะ กระแสต่อต้านแนวคิดของพราหมณ์ ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา เราจะได้พบเห็นคำว่า “สมณะพราหมณ์” อยู่เนือง ๆ ซึ่งคำคำนั้นได้หมายเอกกลุ่มแนวคิด ๒ กลุ่มใหญ๋ ๆ ในยุคปลายอายุพระนิพพานถึงยุคพระพุทธกาล นั่นคือ กลุ่มของ “สมณะ” และ “พราหมณ์” สมณะ VS สมณะ (ภาพประกอบของสมณะ 2 คน) - เชื่อถือพระเจ้าและอ่านจาของพระเจ้า - ปฏิบัติตามคัมภีร์พระเทว - ประเพณีพิธีกรรมของพราหมณ์ ทำสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้พระเจ้าเพิ่ งพอใจ - ปฏิบัติฌานเพื่อการหลุดพ้นจากสังสารวัฏและได้ไปอยู่บ้านพระเจ้า - ปฏิเสทธรรมพระเจ้าแต่เชื่อถือในศักยภาพของมนุษย์ - ปฏิสงค์พระเวทแต่มีแนวทางของตนเอง - ปฏิสรประเพณีของ “พราหมณ์” - เชื่อว่าหลุดพันธ์ด้วยการหมดจากบาปและกิเลสในใจ กลุ่ม “สมณะ” แยกได้เป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ ๑. กลุ่มที่มุ่งเน้นการใช้ “ธรรมะ” จากความคิด โดย “ปฏิสังในเรื่องญาณหยั่งรู้แห่งจิต” เช่น กลุ่มของอาชีวะและปริพพาท ๒. กลุ่มที่มุ่งเน้นการ “ปฏิบัติ” จากการฝึกจิต โดย “ยอมรับในเรื่องญาณหยั่งรู้แห่งจิต” เช่น กลุ่มของชน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More