การสืบค้นและเผยแพร่ธรรมภายใน  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2561 หน้า 42
หน้าที่ 42 / 70

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เน้นถึงความสำคัญของการสืบค้นและเผยแพร่ธรรมภายในในยุคปัจจุบัน ซึ่งมีการกล่าวถึงความท้าทายในการอ่านและทำความเข้าใจพระไตรปิฎกและคัมภีร์ต่าง ๆ แม้จะมีข้อมูลมากมาย แต่ยังคงมีผู้คนจำนวนมากที่ไม่สามารถเข้าถึงความรู้ได้ อย่างไรก็ตาม หน้าที่ในการสืบค้นและเผยแพร่นั้นมีความสำคัญมาก โดยเฉพาะในยุคที่ความรู้เกี่ยวกับธรรมมากขึ้น การพัฒนาบุคลากรที่มีความชำนาญในภาษาบาลีและภาษาโบราณจึงเป็นสิ่งจำเป็น นักวิจัยท่านหนึ่งจากสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมมัยได้มีบทบาทสำคัญในเรื่องนี้ และกำลังศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าที่มหาวิทยาลัยโอทโก ซึ่งน่าสนใจในการสอนรายวิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและธรรมสากล.

หัวข้อประเด็น

-สำคัญของการสืบค้นธรรมภายใน
-การเข้าใจพระไตรปิฎก
-บทบาทของนักวิจัย
-การพัฒนาบุคลากรในศาสนา
-หลักฐานธรรมภายใน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดั้งนั้น เมื่อมาถึงยุคของเรา หน้าที่ในการสืบค้นำร่างรั้ววิชาชาธรรมภายในและหลักฐานธรรมภายจึงถือเป็นหน้าที่ที่สำคัญมาก เพราะวาเกิดขึ้นของธรรมรามายันนั้นเป็นของยากอย่างยิ่ง แม้ในปัจจุบันนี้ การได้ยินได้ฟัง ได้รับรู้เรื่องราวของธรรมภายจะแพร่หลายมากขึ้น แต่ความเข้าใจของคนในยุคนี้ยังมีน้อยมาก ถึงจะเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าในพระไตรปิฎกดีดี หรือคัมภีร์ต่าง ๆ ของพระพุทธศาสนาก็ดี มีคำว่า "ธรรมภาย" ปรากฏอยู่หลายแห่ง แต่ก็ยังมีผู้อื่นเป็นจำนวนมากที่ไม่มีโอกาสได้ศึกษาหรือทำความเข้าใจให้ถูกต้องอย่างใด ด้วยเหตุนี้วิภาการในสืบค้นำร่างรั้วหลักฐานธรรมภาย ตลอดจนการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับธรรมภายจึงต้องดำเนินต่อไปจนกว่าจะสำเร็จสมบูรณ์ ซึ่งการจะทำภารกิจดังกล่าวให้สำเร็จได้จึงจำเป็นต้องอาศัยผูที่มีความรู้ความชำาญในภาษาบาลีและภาษาบราณอื่น ๆ เข้ามาช่วยกัน ประกอบกันจะต้องอาศัยการพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วย ทั้งนี้ หนึ่งในนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมมัย (DIRI) ของเราท่านหนึ่ง คือ พระเอกบุนดินทร์ ปุณฑราดรโน นักศึกษาระดับปริญญาเอกสาขา Religious Studies แห่งมหาวิทยาลัยโอทโก ซึ่งกำลังทำวิทยานิพนธ์เรื่อง “On the Two Bodies of the Buddha in Pussadeva’s Pathamabodhi” ถือว่าเป็นนักวิจัยรุ่นใหม่อีกท่านหนึ่งที่มีคุณภาพ และได้เข้าทำหน้าที่ที่ช่วยสอนในรายวิชาต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยโอทโกมามาย เช่น ในรายวิชา Religions of Southeast Asia รายวิชา Medical Humanities Selective 2018 รายวิชา Introduction to Hinduism and Buddhism และรายวิชา Buddhist Thought เป็นต้น ซึ่งในช่วงเวลานั้นผ่านมานา พระอาจารย์เอกนินทร์ ปุณฑราดรโน เป็นผู้นี้มีโอกาสไปศึกษาภาษา สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมมัย (ออสเตรเลียและนิวิตแลนด์), ๒๕๕๕ ถาม-ตอบข้อสียเรื่องธรรมภาย ๑ (เฉพาะกลายานมิตรเท่านั้น), กรุงเทพมหานคร : เล่งเยีง.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More