พระภูษุในพระพุทธศาสนา  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2561 หน้า 46
หน้าที่ 46 / 70

สรุปเนื้อหา

พระภูษุเป็นนักบวชชายในพระพุทธศาสนา มีความหมายในสองนัยคือ ผู้ต่อยอด และผู้เห็นภัยในวิสาสะ เป็นผู้เลี้ยงชีวิตด้วยความเรียบง่ายและแสวงหาทางพ้นทุกข์ พระแตเนียบถมมาโภ ตัวอย่างคนที่พบความสุขจากชีวิตพระภิกษุ หลังจากเติบโตในประเทศไทยและย้ายไปอเมริกา เขาได้เรียนรู้และค้นหาความหมายของชีวิตและความสุขที่แท้จริง อาทิเช่นการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยและการทำงานพาร์ตไทม์ในอเมริกา มีการแสวงหาความสนุกและเปรียบเทียบวัฒนธรรม.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของพระภูษุ
-บทบาทในพระพุทธศาสนา
-การแสวงหาทางพ้นทุกข์
-ประสบการณ์ของพระแตเนียบถมมาโภ
-ชีวิตในต่างประเทศและการใช้ชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ภูมิษ หรือ พระภูษุ (บาลี : ภูมิ ; สันสกฤต : ภูษุ) เป็นคำใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนา มีความหมาย ๒ นัย แปลตามที่มาของศัพท์มาบ่อย ดังนี้ ๑. แปลว่า ผู้ต่อยอด ได้รับวิจารณ์ คือ ภูฏิ สันนาฏิ ภูภู คำกล่าวคือ พระภูษุ เป็นผู้ขอบจิ้ลไฉล่สมควรแก่สมรสนบริโภคจากทายกฤตที่น้อมถวายด้วยจิตศรัทธา มีมิตตตาหาร เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค เป็นต้น ๒. แปลว่า ผู้เห็นภัยในวิสาสะามี วิจารณา คือ ภูฏุสลา ภัย อภิญญตติ ภิกฺษุ กล่าวคือ พระภิกษุเป็นผู้เห็นเหตุทุก โทษ ภัย ของการเวียนว่ายตายเกิด มีความแก่ ความเจ็บ ความตาย การพลัดพรากจากของรัก หรือประสบสิ่งอันไม่เป็นที่รัก เป็นต้น พระภิกษุจึงเป็นผู้ที่เลี้ยงชีวิตด้วยความเรียบง่าย ออกบวรุเพื่อแสวงหาทางพ้นทุกข์ มีใจปลอดกังวล ฝันตน แน่วแนหนทางพระนิพพานอันบริสุทธิ์ที่ไม่มีสูญอื่นยิ่งกว่า ดังเช่นเรื่องราวที่สนใจของ พระแตเนียบ ถมมาโภ อายุ ๒๖ ปี พระชะ ๖ ลุกครึ่ง สัญชาติไทย-อเมริกัน ผู้คนลึกเข้าไปในใจตน จนพบคำตอบของความสุขที่แท้จริงจากชีวิตพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ดังนี้ “ตามเกิดและเติบโตในประเทศไทยที่จังหวัดอุดรธานี จนอายุ ๕ ขวบ ครอบครัวจึงย้ายไปอยู่ที่อเมริกาในรัฐนิวเจอร์ซีย์ ๑๕ ปี รัฐบาลอเมริกา ๓ ปี และรัฐอิลลินอยส์ ๓ ปี “อาตมาใช้ชีวิตประจำวันโดยตอนกลางวันเรียนที่มหาวิทยาลัย ตอนเย็นทำงานพาร์ตไทม์และออกไปเที่ยวกับเพื่อนตอนกลางคืน รวมถึงแสวงหาเปรียบเทียบแตกต่างสนุกๆ อยู่เสมอ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More