6 สำนักใหญ่ในสมัยพุทธกาล  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน ตุลาคม พ.ศ.2561 หน้า 62
หน้าที่ 62 / 70

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเน้นไปที่ความคิดของ 6 สำนักใหญ่ในสมัยพระพุทธศาสนา ได้แก่ ปุราณะคัศศะ, มักถิลาโกษา, อิติตติกาสัง, ปฏิกจ่ายนะ, นิครนายกฏุร, และ สังข์เวสส์บุตร ที่มีแนวคิดแตกต่างและที่เกี่ยวข้องกับกรรมและการดำเนินชีวิต โดยที่ลัทธิเหล่านี้ต่างมีความเชื่อในความจริงที่แตกต่างกัน และมุมมองเกี่ยวกับการไปสู่ความหลุดพ้น พวกเขามีการปฏิเสธแนวคิดจากพระเวทและการทำดี-ชั่ว

หัวข้อประเด็น

-ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
-ลัทธิองคู่ง 6
-แนวคิดกรรมและบุญบาป
-วิเคราะห์สำนักใหญ่
-การเปรียบเทียบแนวคิด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อาณาจักร อ่านอดีต ขีดอนาคต เรื่อง : พระมหาพน ศักดิ์ศรี จันโอ, ดร. ย้อนอดีต...ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ตอนที่ 10 : 6 สำนักใหญ่...ในสมัยพุทธกาล เมื่อกล่าวถึง “สำนักใหญ่” สำหรับแฟน ๆ ยายกัลภายในอย่าง “มังกรหยก” คงจะนึกถึง สำนักเสาหลิน (Shaolin 少林) ซึ่งก็ดูดี (Wudang 武当) หรืออ่อโป (Emei 峨眉) เหล่านี้เป็นต้น แต่หากกล่าวถึง 6 สำนักใหญ่ที่ปรากฏอยู่ในสมัยพระพุทธศาสนาแล้ว คงหลีกเลี่ยงที่จะกล่าวถึง “ลัทธิองคู่ง 6” ไปไม่ได้ ใน “สามัญบุพสดุด” ทั้งฝ่ายบาลี (Samaṇ̣ṇāphala-sutta) และฝ่ายสันสกฤต (Śramanyaphala-sutra) ข른นำเสนอในแนวความคิดของครูทั้ง 6 เอาไว้ อย่างน่าศึกษา เรามาดูกันว่า “ครุ่ง 6” นี้ มีใครนบ้าง และมีแนวคิดอย่างไรบ้าง ๑. ปุราณะคัศศะ (Pūrana Kassapa) มีความเห็นว่า วิญญาณเป็นสิ่งเที่ยงแท้กว่า ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ไม่เชื่อทั้งเหตุและผลของการกระทำ กล่าวคือ ไม่เชื่อบุญ บาป และผลแห่งกรรมของตนเอง ๒. มักถิลาโกษา (Makhali Gosāla) มีความเห็นว่า วิญญาณเป็นสิ่งเที่ยงแท้กว่า ไม่มีการเปลี่ยนแปลง สิ่งที่จะเกิดและไม่เกิดในชีวิตล่วงไปตั้งแต่ คือว่าดีร้าย และเมื่อเวียนเกิดเวียนตายไปเรื่อย ๆ ก็จะบรรลุขึ้นเอง ๓. อิติตติกาสัง (Aitya Kesakambala) มีความเห็นตรงกันข้ามกับ “สมาทิธิ” ประการว่า ทานไม่มีผล การบูชาไม่ผล โลกนี้ก็น่าไม่มี เป็นตัน และสัตว์ทั้งหลายสิ้นสุดลงด้วยความตายในชาตินี้ ไม่มีสิ่งใดเหลือ ๔. ปฏิกจ่ายนะ (Pakudha Kaccāyana) มีความเห็นว่า สภาวะทั้ง 7 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ สุข ทุกข์ และวิะ เป็นสิ่งไม่หวั่นไหว เที่ยงแท้ นิรันดร์ ไม่ขึ้นกับการทำใด ๆ ทั้งสิ้น ๕. นิครนายกฏุร (Nigantha Nātaputta) มีความเห็นว่า ความจริงมิได้มีเพียงหนึ่ง ขึ้นอยู่ กับสถานการณ์ การเปลื่ยนผ้าและทรมาน รวมถึงข้อปฏิบัติในเรื่อง “อหวิลา” (ความไม่เบียดเบียน) เป็นหนทางหลุดพ้น ๖. สังข์เวสส์บุตร (Sānjaya Belāṭhaputta) มีความเห็นว่า ไม่มีความจริงอันเป็นสิ่งจะ มุ่งกว่างกล่าวถึงสิ่งที่ไม่ควรพากษา ได้แก้ โลกเที่ยงหรือไม่เที่ยง และกล่าวซัดสายไปมา เช่น อย่างนี้ ก็มีใช่ อย่างนั้นก็มีใช่ อย่างอื่นก็มีใช่ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าแนวคิดของ “ครุ่ง 6” แม้จะปฏิเสธแนวคิดพระเวทของ “พราหมณ์” แต่ก็มีแนวคิด ไปในทางที่เห็นว่าพุทธชยันต์ยิ่ง อีกทั้งปฏิเสธเรื่องบุญบาปและกุศโลบายและกฎแห่งกรรม ต่างกันตรงที่ “วิธีการอธิบาย” เพื่อให้เข้าใจในแนวคิดเหล่านี้นั่นก็อาจแตกต่างกัน จะมีเพียงแต่ “นิครนาถภูวเรศ” เท่านั้น ที่ยังพอมแนวคิดเรื่องกรรมเก่าและทางปฏิบัติ เพื่อความหลุดพ้น แล้วพระพุทธศาสนาของพระผู้พระภาคเจ้าจะรับมือลึกแนวคิดของ “สมณะ” และ “พราหมณ์” เหล่านี้อย่างไร (โปรดติดตามตอนต่อไป)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More