ข้อความต้นฉบับในหน้า
การศึกษาค้นคว้าอย่างยาวนานทั้งชีวิตของท่าน คือ วิชาชาธรรมภาย² ซึ่งหาเราจะได้ลองย้อนกลับจากคำสอนเมื่อครั้งที่ท่านยังมีชีวิตอยู่นั้น เราจะพิจารณา จากพระธรรมเทศนาเป็นจำนวนมากของท่านนั้น ได้กล่าวถึง “วิธีปฏิบัตธรรมแบบเห็นพระ” หรือการน้อมนึกถึงพระพุทธเจ้าในใจอยู่เสมอ โดยในหลายครั้งการกล่าวของท่านเป็นการกล่าวถึงขั้นตอนการปฏิบัติ อีกหลายครั้งเป็นการกล่าวถึง “พุทธลักษณะของพระ” และบางครั้งเป็นการกล่าวถึงคุณค่าหรืออานิสงส์ของการเห็นพระ ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรแก่การศึกษาอย่างยิ่งกล่าวกันว่าการดำเนินตามเส้นทางสายกลางในวิชาชาธรรมภายนี้ เป็นทางดำเนินเดียวกันที่พระสัมมา สัมพุทธเจ้าทุกพระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้า และเหลาพระอรหันต์สายดำเนินไปจึงเป็นเส้นทางที่เข้าถึงได้สำหรับมนุษย์ทุกคนในโลกที่หน้า มาปฏิบัติธรรม² การค้นพบหลักฐานที่สำคัญข้างต้นนั้น ต้องถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการยืนยันความจริงหลายประการเกี่ยวกับ “วิชาชาธรรมภาย” โดยแท้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อย้อนไปศึกษาผลงานการค้นคว้าของ ดร.ชนิดา จันทารวีโส (บ.ศ.๙ นักวิจัยของสถาบันวิจัยนามธรรมชัย (DIR) จากงานวิจัยเรื่อง “ร่องรอยวิชาชาธรรมภายในคณะอธิษฐานและเอเชียกลาง” (พุทธศาสตราภ ๒๕๕๓) ก็จะยิ่งพบความสอดคล้องกันอย่างเห็นได้ชัด ในงานวิจัยนี้ ดร.ชนิดาได้ถอดยิ่งเรื่องสำคัญๆ ไว้หลายจุด เช่น ความหมายของคำว่า “ธรรมภาย” ในคำสอนดังเดิมนั้น มีความเกี่ยวพันกับการตรัสรู้ธรรมและหมายถึงโลกุตตรธรรม รวมทั้งเป็นชีวิตใหม่ที่เข้าถึงได้ และนำความสุขมาให้แก่ผู้อย่างหรือเป็นเจ้าของ และที่น่าสนใจนั่นก็คือ ในงานวิจัยนี้ หลังจากผู้วิจัยได้ทำการสำรวจเนื้อหาดังบริบทในคณะอธิษฐานและเอเชียกลางแล้ว พวกมีคำที่มีคำว่า “ธรรมภาย” หรือเนื้อหาความสอดคล้องกับคำสอนของวิชาชาธรรมภายในบางแห่งนั้น เป็นจำนวนถึง ๒๓ คำมา ด้วยกัน เช่น ในโพสต์สัตปฏูกสูตร คำสรริราชเจกากา ปรัชญาปรมิตา ในคตปฏิรูป สติตระ ในสมาธิฐานสูตร ธรรมศีริมสูตร หรือในธรรมภายสูตร เป็นต้น ซึ่งบรรดาคำเหล่านี้ หลายคำมีการกล่าวโดยตรงว่า “ธรรมภาย” และการบรรลุอนุตตรสมบูรณ์ญาณของพระพุทธเจ้านั้นเป็นสิ่งเดียวกัน ซึ่งในบางคำก็เกี่ยวกับระบุ