ข้อความต้นฉบับในหน้า
ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า หลักฐานที่ค้นพบในงานวิจัยชิ้นนี้(ซึ่งยังมีอีกมากไม่อาจนำมาแสดงได้หมด ณ ที่นี้) ยังเป็นไปในทางเดียวกันกับข้อวิเคราะห์จากงานพระเกียรติศักดิ์กิตติปปฺโญ ที่ทำการศึกษาเรื่อง “คัมภีร์ตุฬฉง หมายเลข S.2585 : การศึกษาเนื้อหาและสัตว์วิทยาการเกี่ยวกับเทคนิคการทำสมาธิและประสบการณ์ด้านในสมาธิ ช่วงยุคกลางตอนต้นของจีน” โดยท่านได้ระบุให้เห็นว่าเมนในประเทศจีนเองในช่วงระหว่างปี ค.ศ. ๒๐-๕๘๙ (พ.ศ. ๒๓๓–๑๑๑๒) ก็ยังปรากฏให้เห็นถึงวิธีการทำสมาธิทางพระพุทธศาสนาที่เป็น การรวมจิตให้ตั้งมั่นขึ้นเป็นหนึ่งไว้กลางสะอาด (yixin guanqi -心観舍) ทำให้ผู้ปฏิบัติถึงถึงภาพทันต์ภายในสมาธิอัคนิจฉรร์ ที่นิยามแนวคิด “องค์พระภายใน” สะท้อนคำว่า “ตาทัฏตภรฺภะ” (tathāgatagarbha) ที่เป็นประเด็นประตูไปสู่ความก้าวหน้าของมนุษย์และการดำรงอยู่ เป็นทางสายกลางสำหรับการเดินทางภายในกายสู่การสิ้นสุดของสงสังขาร
ซึ่งโดยภาพรวม คัมภีร์คู่มือสมาธิได้ถ่ายทอดวิธีการปฏิบัติสมาธิไว้ถึง ๙ วิธี หนึ่งในนั้น คือวิธีแบบ “รวมจิตให้เป็นเอกตามแต่อนัสน” นิยามถึงพระพุทธเจ้า (yixin guanfo -心観佛) โดยเริ่มจากการฝึกให้ผู้ปฏิบัตินิมิตพลังของพระรูปภายในของพระพุทธเจ้าเป็น ขั้นตอนแรก ขณะทีนส่วนของสมาธิแบบนี้ นิยมถึงพระพุทธเจ้า (guanfo sanmei -观佛三昧) ได้สรุปเสร็จพระพุทธเจ้าว่า ทรงเป็นราษฎรแห่งธรรมทั้งปวง การกำหนดพุทธานุสสติสามารถตรอกนิวัตรกรรมเก่า ของผู้ปฏิบัติได้ ผู้ปฏิบัติพึงกำหนดสติละลึกถึงพระพุทธเจ้าเสียก่อน มีประโยคหนึ่งกล่าวว่า “หากเรานึกถึงพระองค์ พระองค์จะนึกถึงเรา”6
งานวิจัยของพระเกียรติศักดิ์ กิตติปญฺโญ ที่ทำการศึกษาเรื่อง “คัมภีร์ตุฬฉง หมายเลข S.2585
6 ดูรายละเอียดใน: นิจดา จันทราศรีโศล, ร่องรอยวิชชาธรรมภายในคานธาระและเอเชียกลาง, สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย ประเทศออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์, ๒๕๔๙.