ข้อความต้นฉบับในหน้า
ท่านเกิดความสงสัยในคำว่า “อภิชาปัจเจย” (ความไม่รู้เนื่องเป็นปัจจัย: ผู้เขียน) นับตั้งแต่ครั้งยังบวดได้เพียงวันเดียว และด้วยเหตุผลนี้เองท่านจึงอาจต้องการทุ่งนาทางการศึกษาพระบาลีแก่พระภิษุสามเณรของท่านให้มากที่สุด เข้มแข็งที่สุด ก่อนที่จะถ่ายทอดความรู้อีกซึ่งจากธรรมปฏิบัติในวิชายธรรมนานให้อีกเป็นได้ เช่นเดียวกับที่ว่าท่านเองได้เอาชีวิตเป็นเดิมพันในการศึกษาพระบาลีควบคู่กับการปฏิบัติจากวามาแล้วเป็นเวลานานก่อนที่จะได้รับมรรครมาณในกลางพรรษาที่ 12 ณ อุโบสถวัดโบสถ์น อ.บางกรวย จ.นนทบุรี โดยอย่างน้อยที่สุดพระภิษุสามเณรผู้มีความรู้จำนวนมาก ๆ เหล่านี้จะได้ทำหน้าที่ร่วม เป็นนายแก้ต่าง" ให้แก่วิชชาธรรมภาย และ “หลักฐาน” ที่ปรากฏในคำเทศน์สอนของท่านได้ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งมาสู่รุ่นหนึ่งได้อย่างสมบูรณ์
องึ่ง เมื่อกล่าวในส่วนของการฟังพระเณรคุณหลวงปู่ พระผู้ปราบมาร ได้อัสสะการศึกษาพระบาลีเพื่อส่งเสริมความเข้าใจที่ชัดเจนในวิชชาธรรมภายนี้ ผู้เขียนเห็นว่าท่านได้ปฏิบัติเช่นนั้นมาตลอดชีวตของท่าน ดังจะเห็นได้จากหลักฐานที่ปรากฏในบทพระธรรมเทคนา ที่ท่านแสดงทุกกัณฑ์ (ที่พอจะหลงเหลือให้รวมได้ประมาณ ๙๘ กัณฑ์ และคณะศิษยานุศิษย์นำพิมพ์เผยแพร่ถึงปัจจุบัน) ว่า ในบทเทคนิคธรรม ทลองปฏิบาเทโนจะยกคาถาบาลชันต้นเสมอ แล้วแปลและขยายความจากคาถาบาลไล่ไปในเมฆของการปฏิบัติและปฏิเวธอย่างลึกซึ้ง จนถึงเรื่องของการเข้าถึงพระธรรมกายและการหลุดพ้นจากกิเลสและจากทุกข์ด้วยวิชชาธรรมภาย ซึ่งเป็นที่น่าศึกษาอย่างยิ่งว่า คำอธิบายของท่านดังกล่าวนี้ ล้วนมีลักษณะทีจะละเอียดและลุ่มลึกอย่างยากที่จะพบเห็นจากเอกสารแหล่งใดได้ ดั่งที่ท่านอธิบายในพระธรรมเทคนาของท่านในโอกาสต่าง ๆ ว่า
“สมุทสมฺพุโฏ…แปลตามศัพท์ว่า ตรีสรรถด้วยพระองค์เองโดยชอบ …แต่แท้จริงคำว่า พุโฏ คำนี้เมื่อพิศมาะให้ลำสิ่งลงตามรูปศัพท์แล้วมีความหมายลึกซึ้งมาก ต่างกันไกลกับคำว่า ขนะ หรือ วิชนะ ซึ่งแปลว่ารังแจ้งนั้น…เมื่อจะถึงพระสไน้มจังกับปวดสูตรว่า “จากุ อุทปาติ อนุษา อุทปาติ ปฏมฺยา อุทปาติ วิฺชานา อุทปาติ อาโลก อุทปาติ ทำให้แลเห็นความว่าคุณวิชชัง ๕ อย่าง ดังปกติที่เคยกล่าวไว้จะเป็นความหมายแห่งคำว่าพุโฏ...ซึ่งเป็นเหตุสนุนว่า ที่ว่าพุทเจ้าตรัสสรุญูไม่อุจฺฉา ๙ แต่เป็นทั้งนั้นก็เห็น…”
“…วิภาสนา คำแปลตามศัพท์ว่า เห็นแจ้ง เห็นวิเศษ หรือหยิ่งเงามั่นว่าเห็นต่าง ๆ เห็นอะไร? เห็นนามรูป แจ้งอย่างไร? แจ้งโดยสามัญลักษณะว่ารู้อย่างไรเป็นต่างกัน? เห็นยกกายอยู่ เห็นด้วยตาเรือรือเห็นด้วยอะไร? ตามมนุษย์ไม่เห็น ต้องหลับตาของมนุษย์เสียส่งใจไปดงอยู่ที่ศูนย์ดวงปฐมจร เวลา จำ คิด รู้ มีอยู่ในดวงปฐมมรรคนั้น…“7
6 ความตอนหนึ่งในบทพระธรรมเทคนานั้นกัณฑ์ที่ 2 เรื่อง “ พุทคุณ ธรรมคุณ สังฺคุตฺนฺ หน้าท ๑๘.
7 เรื่องเดียวกัน หน้า ๒๓.
ธันวาคม ๒๕๒๓ อยู่ในบุญ ๙๕