ข้อความต้นฉบับในหน้า
ที่เรียกว่า “บาณูชี” นี้นั้นมาก่อนแล้วชุดหนึ่ง ชื่อว่า “บาณูชีเรื่องหนังสือในหอพระสมุดวชิรญาณภาคที่ ๑ แผนกบำจี พ.ศ. ๒๕๔๘” ซึ่งกรรมการทอดพระสมุดา สำหรับพระนครได้จัดพิมพ์เป็นเพื่อเฉลิมพระเกียรติศงานพระราชทานเพลิงพระศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมเด็จพระบรมราชชนก อติฑายนายกรรมการพระสมุทรวิธิ ธรหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๘ ซึ่งในระหว่างที่ลงพระชนม์มีอยู่เนือง ทรงมีแนวพระดำริว่าด้องการจะทรงจัดพิมพ์ “บาณูชี หนังสือในหอพระสมุดวชิรญาณ ไว้ให้ปรากฏแก่คนทั้งหลาย” อยู่แล้ว ดังนั้นหากจะกล่าวไปแล้ว เอกสาร บาณูชี ก็มีราษฎบาลี และ ภาษาสันกฤกษ์นั้นจึงนว่าเป็นเพราะว่าราณีกรรมที่สำคัญที่สุดสำหรับการพระพุทธศาสนาเวลากในประเทศไทยเราบันทึกหนึ่ง เพราะเท่ากับเป็นเอกสารที่ใช้อ้างอิงได้อย่างถูกต้องเป็นทางการกว่า คำภีร์บาลี-สันกฤตฉบับใดบ้าง เรื่องใดบ้าง ที่ได้รับการชำระสอบทานและจัดหมวดหมู่ไว้แล้วในสยามประเทศ นอกเหนือไปจากมรดกมภรีใบลานต่าง ๆ ซึ่งถือเป็นต้นแห่งความรู้ที่สำคัญนั้น และเช่นเดียวกัน เมื่อผู้เขียนได้ไปค้นคำเพิ่มเติม ก็ได้พบว่าในหนังสือ “สยามบาลี วรรณากรรม” อันเป็นหนังสือที่จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมรายชื่อคำภีร์วราทางพระพุทธศาสนา “ที่ถูกละเลย” ซึ่งมูลนิธอนุรักษ์คัมภีร์โบราณ (ประเทศไทย) และสถาบันวิจัยนานาชาติลุมพินี (ประเทศเนปาล) ร่วมกันจัดทำขึ้นใน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ (ค.ศ. ๒๐๑๒) ก็เป็นเอกสาร
หนังสือ Pali Literature Transmitted in Central Siam สยามบาลีรวรรณกรรม
๒ จากพระปรากรของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ สถาบันเททองพระสมุดวชิรญาณ ปรากฏในคำเนิดเอกสาร บาณูชี คำรีบารบาลี และ ภาษาสันกฤกษ์ อันมีฉบับในหอพระสมุดวชิรญาณ สำหรับพระนคร พิมพ์ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาชาติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาธรรมธิเบศรกาลเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๘ หน้า ๑๑
๔๔ อยู่ในบุญ สิงหาคม ๒๕๖๓