ข้อความต้นฉบับในหน้า
นอกจากนี้ในวรรณกรรมอีสานยังมีความเชื่ออย่างหนึ่งคือเรื่องพญาคันคาก หรือคางคก พญาคากได้รับกับพญาแนนจนชนะแล้วให้พญาแนนบันดาลฝนลงมาถึงโลกมนุษย์
ความหมายของบั้งไฟ
คำว่า “บั้งไฟ” ในภาษาถิ่นอีสานมักจะสับสนกับคำว่า “บ้องไฟ” แต่ที่ถูกนั่นควรเรียกว่ำ “บั้งไฟ” ดังที่ เจริญชัย ดงไพรโคน ได้อธิบายความแตกต่างของคำทั้งสองไว้ว่า “บั้ง” หมายถึง รีงที่เป็นกระบอก เช่น บั้งทิง สำหรับไส่กับยาม หรือบั้งข้าวหลามเป็นต้น ส่วนคำว่าบั้ง หมายถึง สิ่งของใด ๆ ก็ได้ที่มี 2 ชิ้น มาจง หรือประกบกันได้ ส่วนบทกวีเรียกว่า บ้ง ส่วนในหรือสิ่งที่เอาไปปลอดใส่จะเป็นสิ่งใดก็ได้ เช่น บ้องมีด บ้องขวาน บ้องเสียง บ้องวัว บ้องคาย เป็นต้น คำว่าบั้งไฟ ในภาษาถิ่นอีสานจึงเรียกว่าบั้งไฟ ซึ่งหมายถึงดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง มีหางยาวแสดงศิลปะสมาคมคับก้นไม่ตามให้เข้า ก้นและดูเรีงอย่างละเอียดเรียกว่า หมี่ (ดินปืน) และเอามือ นั้นใส่กระบอกไม้ไฟดีๆ ให้แน่ใจรุตตอนท้ายของบั้งไฟ เอาไฟเผ่าน่ำติดกับกระบอกให้สนิทโดยรอบ เอาไม้ไผ่ยาวลำหนึ่งมัดติดกับกระบอกให้สนิทจึงเรียกว่า “บั้งไฟ” ในด้านของผู้วิจัย บั้งไฟ คือการนำเอากระบอกไม้ไฟ เล็กกสิ ท่อเรสลอน หรือเลาน้อยอย่างใดอย่างหนึ่งมารวบมัด (ดินปืน) ตามอัตราส่วนที่ช่างกำหนดไว้แล้วประกอบด้วยหลายท่อนหางเป็นรูปร่างต่างๆ ตามที่ต้องการ เพื่อเอาไปจุดพุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้าจะมีควันและเสียงดัง บั้งไฟมิอาจหลายประเภท ตามลุกมุ่งหมายของประโยชน์ในการใช้สอย
ในทางศาสนาพุทธกับประเพณีบุญบั้งไฟ
มีการฉลองและบูชาในวันวิสาขบูชากลางเดือนหก มีการทำดอกไม้ไฟในแบบต่างๆ ทั้งไฟ น้ำมัน ไฟฟุเทียนและดินประสิว มีการทำทาน รักษาศีล เจริญภาวนา