บั้งไฟ: ประเภทและการประดิษฐ์ Dhamma TIME เดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 หน้า 14
หน้าที่ 14 / 40

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ศึกษาเกี่ยวกับบั้งไฟประเภทต่างๆ เช่น บั้งไฟแสน ซึ่งเป็นบั้งไฟขนาดใหญ่ที่สุดและต้องการความชำนาญในการทำ บั้งไฟตะไล คือบั้งไฟขนาดใหญ่ที่มีรูปร่างเฉพาะ และบั้งไฟตี่ ซึ่งมีขนาดเล็กและใช้ในการงานต่างๆ เช่น งานศพ บั้งไฟพลู เป็นบั้งไฟที่จุดในเทศกาลต่างๆ เพื่อส่งข่าวให้ประชาชนทราบ ผ่านข้อมูลจากประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เช่น การสร้างเมืองสิงห์หาในสมัยพระเจ้าวงศาและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภากย์

หัวข้อประเด็น

-บั้งไฟแสน
-บั้งไฟตะไล
-บั้งไฟตี่
-บั้งไฟพลู
-ประวัติศาสตร์บั้งไฟ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ช่วงๆ กระบอก ถ้าต้องการจะให้มีเสียงดังอย่างไรก็จะมีเทคนิคในการทำให้เกิดเสียงนั้นๆ 4. บั้งไฟแสน บั้งไฟชนิดนี้นิ่งบั้งไฟขนาดใหญ่ที่สุด บรรจุดินปืนหนัก 120 กิโลกรัมขึ้นไป บั้งไฟขนาดนี้ยากที่สุดจะต้องอาศัยความชำนาญเป็นพิเศษ เพราะบั้งไฟขนาดนี้หากแตกแล้วจะเป็นอันตรายมาก เพราะฉะนั้นก่อนทำบั้งไฟจะต้องมีพิธีกรรมบวงสรวงให้ถูกต้องตามหลักการทำบั้งไฟแสนเสียก่อนจึงจะลงมือทำ เมื่อบั้งไฟเสร็จเรียบร้อยแล้วจะมีกากตะแดงระดับประดับบั้งไฟ 5. บั้งไฟตะไล บั้งไฟชนิดนี้คือบั้งไฟขนาดใหญ่นั้นเอง มีความยาวประมาณ 9-12 นิ้ว รูปร่างคล้ายมีไม้บังๆ แนบๆ เป็นวงกลมครอบหัวบั้งไฟเมื่อพุ่งขึ้นสู่ฟ้าไปโดยทางขวาง 6. บั้งไฟตี่ บั้งไฟตี่หรือบั้งไฟกระแตนั่งตอ เป็นบั้งไฟขนาดเล็กมีหางสั้น วิธีทำ ตัดกระบอกไม้ไม่ผนขนาด 1 นิ้วครึ่งยาวประมาณ 3 นิ้ว อัดหมี่ให้แน่นประมาณ 2 นิ้ว ใช้หมี่อ่อนสามหรืออัดสอดด้วยเถิดไม้ให้แน่น ต่อหางซึ่งทำจากไม้ไผ่ เหลาเป็นแท่งเล็กๆ ใช้เสื่อมต่อมุขต่ออุดก้นเหรียญ ให้เป็นรูเล็กๆ แล้วติดขุน เวลาจะจุดเอาหางเสียงลงในแท่ที่ตั้งพอลให้ได้ จุดชนวนจากด้านบน บั้งไฟจะพุ่งและหมุนขึ้นสู่อากาศ เกิดเสียงดังต๊อต ๆ เวลา หมุนจะไม่ค่อยมีทิศทาง ใช้ดูในงานศพ เวลาอุตามมีอันตรายมากไม่น้อยนิยมทำกัน 7. บั้งไฟพลู บั้งไฟพลูเป็นบั้งไฟที่จุดในเทศกาลต่างๆ เช่น งานถิน งานบูญมหาดไทย หรือ งานเปิดกีฬ ฯลฯ เป็นบั้งไฟที่จุดแล้วทำให้เกิดเสียงดังในอดีตนิยมในงานถิน เพื่อเป็นการบอกข่าวไปยังพี่น้องประชาชนทั่วไปให้ทราบ จากพศจวาตรเมืองไสรได้บันทึกไว้ว่า เมื่อราวๆ ปี พ.ศ. 2340 พระเจ้าวงศา (พระออ) เสนาบดีเก่าเมื่อเมืองเวียงจันทน์กับมัคพรครพวกเดินทางออกพะเยาจะไปอาศัยอยู่กับเจ้านครคำป ศักดิ์ เมื่อเดินทางถึงศรีสะเกษเป็นต้นดี จึงได้ตั้งหลักฐานและสร้างเมืองที่เรียกว่า “บ้านสิงห์หา” หรือ “เมืองสิงห์หา” ต่อมาใน พ.ศ. 2357 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภากย์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้กฐินะบ้านสิงห์หาแห่งนี้ขึ้นเป็น “เมืองโสฬส” เป็นต้นตรต่อกรุงเทพ มีเจ้าเมืองดำรงทรงเป็นพระสนมราชวงศา ใน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More