การศึกษาคัมภีร์โบราณและการอนุรักษ์ Dhamma TIME เดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 หน้า 37
หน้าที่ 37 / 50

สรุปเนื้อหา

โครงการนี้มุ่งเน้นการศึกษาคัมภีร์โบราณ โดยนักวิชาการจากประเทศต่างๆ เช่น ไทย ญี่ปุ่น และอังกฤษ รวบรวมข้อมูลและพัฒนาฐานข้อมูลพระไตรปิฎก โดยใช้เทคโนโลยีทันสมัยเพื่ออนุรักษ์มรดกทางศาสนา พร้อมทั้งได้รับความร่วมมือจากหลายองค์กรในระดับโลก.

หัวข้อประเด็น

- การอนุรักษ์มรดกธรรม
- การศึกษาคัมภีร์โบราณ
- ความร่วมมือระดับนานาชาติ
- เทคโนโลยีการจัดทำฐานข้อมูล
- การทำงานร่วมกันระหว่างนักวิชาการ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พาเราย้อนกลับไปสู่คำสอนเมื่อพ้นกว่าปีก่อนใด ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาปีเปรียบเทียบตามหลักวิชาคัมภีร์โบราณ ฐานข้อมูลพระไตรปิฎกก็กล่าวล่ะคุณนำศึกษาปีเปรียบเทียบตาม หลักวิชาคัมภีร์โบราณโดยทีม นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญภาษาบาลีและคัมภีร์พระ พุทธศาสนาเอกสารทั้งฝ่ายบรรจบและ คณะศิลธรรมกว่า 20 ท่าน ทั้งจากประเทศไทย ประเทศญี่ปุ่น ศรีลังกาและอังกฤษ ซึ่งอาจถือเป็นครั้งแรกที่มีการร่วมมือกันทำงานโดยนักวิชาการจากนานาชาติ อย่างต่อเนื่องจึงเป็นเช่นนี้ ขั้นตอนที่ 4 ศูนย์รวมความร่วมมือทางวิชาการระดับโลก โครงการ ยังได้รับคำแนะนำและข้อเสนอแนะทางวิชาการอันทรงคุณค่าจากคณะผู้วิจารณ์จากนานาประเทศ ซึ่งล้วนเป็นนักวิชาการผู้มีชื่อเสียงระดับแนวหน้าในการศึกษาศาสนาพ))){ าและ พระพุทธศาสนาแห่งโลก ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมอนุรักษ์มรดกธรรมอันล้ำค่าโครงการ ได้ส่งคณะทำงานออกสำรวจและถ่ายภาพคัมภีร์โบราณเป็นจำนวนมากทั้งในประเทศไทย ลาว เมียนมาร์ ศรีลังกา และเขตสัมปะซองปันนา ซึ่งได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่ายด้วยดี ทั้งวัด ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ มหาวิทยาลัย และชุมชนในท้องถิ่น ขั้นตอนที่ 2 ผลสรุปมาด้วยเทคโนโลยีทันสมัยจากนั้นจึงจัดทำฐานข้อมูลพระไตรปิฎกจากภาพถ่ายคัมภีร์โบราณด้วยระบบซอฟต์แวร์ทันสมัยที่สามารถตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลกับภาพถ่ายใบลานแบบหน้าต่อหน้า ได้โดยผ่านทางอินเทอร์เน็ต
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More